การปฏิบัติจิตภาวนาโดยใช้สติเป็นฐานตามแนวเทศนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (หลวงปู่บุญเพ็ง กปฺปโก)
บทคัดย่อ
การปฏิบัติพระพุทธศาสนานั้น ตามที่ได้ทราบกันอยู่แล้ว ว่าเมื่อกล่าวโดยย่อก็ปฏิบัติในไตรสิกขา อันได้แก่ สีลสิกขา จิตตสิกขาคือสมาธิ และปัญญาสิกขา เพื่อผลคือวิมุติความหลุดพ้น ฉะนั้น การปฏิบัติอบรมจิต ซึ่งเรียกตามภาษาบาลีว่าจิตตภาวนา ก็หมายถึงการอบรมในจิตตสิกขา และปัญญาสิกขา หรือสมาธิคือปัญญานั้นเอง หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าสมถะวิปัสสนา สติ คือ ความระลึกได้ สัมปชัญญะ ก็คือความรู้ตัว สติมันอยู่ตรงไหนล่ะและอะไรเป็นสติ และสติมันอยู่ที่ไหน ที่ตั้งของสติมันอยู่ตรงไหนและมันงอกออกจากไหน ก็สติมันก็งอกออกจากใจ และมันก็อยู่ที่หัวใจเป็นต้นของสติสัมปชัญญะก็ออกจากหัวใจ มันก็อยู่ในใจ มันไม่ได้ไปอยู่นอกจากใจ สติก็ดี สัมปชัญญะก็ดี ปัญญาก็ดี แล้วเราจะเอาสติที่เราว่าพากันไปฝึกสตินั่นน่ะ แล้วจะเอาสติไปใช้เวลาไหน เอาสัมปชัญญะไปใช้เวลาไหน ถ้าเราไม่ใช่ในเวลาที่เรานั่งภาวนา สติมันก็งอกออกจากจิต จิตมันมีสติ สัมปชัญญะมันก็งอกออกจากจิต ก็จิตมันมีสติสัมปชัญญะ รวมความได้แล้วก็คือ ตัวของเรา มันมีอยู่ในตัวเราเอง มันไม่ใช่ของที่อยู่นอก ก็เอาสติของตัวเองอันที่มันเกิดขึ้นจากหัวใจตัวเอง ก็เอามาระงับหัวใจตัวเอง สัมปชัญญะก็ออกจากหัวใจตัวเอง ก็เอามันมารู้หัวใจตัวเอง ก็หมายความว่าของที่อยู่ในตัวเอง แล้วก็เอามาใช้ให้มันเป็นประโยชน์กับตัวเอง นั้นล่ะเรียกว่า “พระธรรม”
References
มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร.
พระไตรปิฎกฉบับหลวง เล่มที่ 19 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 11 สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค สติสูตร พระสูตรว่าด้วยสติ. (2560). สืบค้นเมื่อ 12 มกราคม.2561, จาก https://is.gd/WQiiIA
พระธรรมวิสุทธิมงคล.(บัว ญานสัมปันโน). (2556) ธรรม: อานาปานสติ สติปัฏฐาน. วิธีพิสูจน์จิตและพระพุทธศาสนา. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2561, จาก https://is.gd/41uXIb
พระครูธรรมธรครรชิต คุณวโร. (2556) จิตตภาวนากับการเปลี่ยนแปลงในพระพุทธศาสนา. สืบค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2561, จาก https://is.gd/JFSfWm
โพธิปักขิยธรรมสถาน มูลนิธิวิปัสสนามิตรภาพ. (2552) การเจริญภาวนา.สืบค้นเมื่อ 12 มกราคม 2561, จาก http://www.polyboon.com/worship/dhumma03.html
วิชาการดอมคอม (2550). จิตตภาวนาในพระพุทธศาสนา. เข้าถึงได้จาก: https://is.gd/k6X92e สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2561.
วัดพิชโสภาราม. (2555) จิตที่ฝึกดีแล้ว นำสุขมาให้. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2561, จากhttps://is.gd/HvhKUL
วัดป่ามหาชัย. สติสูตร. (2556). สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2561, จาก https://is.gd/jl6GRr
สถาบันพลังจิตตานุภาพ. (2560) วิธีนั่งสมาธิ โดยหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต. สืบค้นเมื่อ 12 มกราคม 2561, จาก: https://is.gd/lJVHZv
สถาบันวิปัสสนาธุระ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2552) หลักฐานอ้างอิงในเรื่อง
วิปัสสนากัมมัฏฐาน จากพระไตรปิฎกและคีมภีร์สำคัญทางพระพุทธศาสนา. สืบค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2561, จาก https://is.gd/hogRXU
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช. (2552). จิตตภาวนาการปฏิบัติในสติปัฏฐาน. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2561, จาก https://is.gd/mh856b
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.