ประชาธิปไตย : จิตวิทยาการเมือง
คำสำคัญ:
ประชาธิปไตย, การเมือง, จิตวิทยาบทคัดย่อ
ประชาธิปไตยหรือ democracy หมายถึงการปกครองโดยประชาชน โดยอำนาจสูดสุดในการปกครองมาจากประชาชน และรัฐบาลจะคงอยู่ในอำนาจต่อไปได้เมื่อวาระสิ้นสุดลง ก็ต่อเมื่อประชาชนผู้เลือกตั้งเห็นว่ารัฐบาลสามารถสนองตอบต่อเจตนารมณ์ของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่านั้น หลักการประชาธิปไตยประกอบด้วย 1) เสรีภาพ 2) ความเสมอภาค 3) อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน และ 4) หลักการเสียงข้างมากที่คุ้มครองเสียงข้างน้อย
จิตวิทยาการเมืองทำให้เราเข้าใจว่ากว่าที่พฤติกรรมทางการเมืองนั้นจะเกิดขึ้นมา มนุษย์อาจจะผ่านการรับรู้และเรียนรู้จากหลายๆ เงื่อนไข ทั้งระยะสั้นและระยะยาว คือทั้งในแง่ของบุคลิกภาพของพวกเขาเอง คุณค่า ค่านิยมของพวกเขาเอง ซึ่งอาจจะก่อตัวมาอย่างยาวนาน และเงื่อนไขเฉพาะหน้าที่ทำให้เขาเกิดการตัดสินใจเลือกไปในทางใดทางหนึ่งที่อาจไม่ได้ใช้การตัดสินใจในแง่ของเหตุผลความคุ้มทุนเสมอไป
References
กันยา สุวรรณแสง. (2540). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : อักษรพิทยา.
กรุงเทพธุรกิจ. (2561). เพื่อไทยปั่นป่วนที่สุด 40 อดีต ส.ส.อีสานทิ้ง 'ทักษิณ' จ่อซบ 'พลังประชารัฐ', การเมือง. 20 มิถุนายน2561 สืบค้น 27 กรกฎาคม 2561, จาก http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/805282
บวรศักดิ์ อุวรรณโน. (2550) ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บทที่ 2 การปกครองในระบอบประชาธิปไตยกับแนวคิดการขับออกจากตำแหน่ง (Impeachment) และการปลดออกจากตำแหน่ง (Recall). (2557) สืบค้น 23 กรกฎาคม 2561, จาก http://digi.library.tu.ac.th/thesis/la/0989/10CHAPTER_2.pdf
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. (2541). การมีส่วนร่วมในทางการเมือง. กรุงเทพฯ : สารศึกษา.
มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 2557. บทที่ 8 การปกครองประชาธิปไตย. สืบค้น 22 กรกฎาคม 2561, จาก http://e-book.ram.edu/e-book/p/PS103/chapter8.pdf
รณชัย โตสมภาค. (2556). ประชาธิปไตย. สถาบันพระปกเกล้า. สืบค้น 29 กรกฎาคม 2561, จาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=ประชาธิปไตย
ยุวดี เทพยสุวรรณ. (2557). ดัชนีชี้วัดประชาธิปไตย. สืบค้น 23 กรกฎาคม 2561, จาก http://kpi.ac.th/kpith/pdf/%E0%25%A2/content.pdf
Myron Wiener. (1971). “Political Participation : Crisis of Political Process”, Binder and others, eds. Crisis on Sequences in Political Development. Princeton : Princeton University Press.
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.