บทสังเคราะห์ : การเมืองเรื่องการเลือกตั้งในสังคมไทย

ผู้แต่ง

  • พระทวี อภโย ข่ายมณี อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

คำสำคัญ:

การเมือง, การเลือกตั้ง

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

          บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อจะให้ทราบถึงการเมืองเรื่องการเลือกตั้งในสังคมไทย ถึงความเป็นมาของการการเลือกตั้ง โดยมีการแยกออกเป็น 3 ประเด็น คือ 1. กลุ่มศึกษาการเลือกตั้งในเชิงประวัติศาสตร์  2. กลุ่มศึกษาการเลือกตั้งระดับชาติและระดับท้องถิ่น 3. กลุ่มศึกษาการเลือกตั้งสื่อ ซึ่งจากการศึกษาทั้ง 3 กลุ่ม ปรากฏว่าช่องว่างหรือความขาดแคลนองค์ความรู้ต่อการเมืองเรื่องการเลือกตั้งนั้น ยังมุ่งศึกษาเฉพาะการเลือกตั้งในสังคมไทยอยู่ จึงไม่เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงหรือความแตกต่างที่เกิดจากระบบการเลือกตั้งในต่างประเทศที่ส่งผลต่อระบบการเลือกตั้งในสังคมไทย และยังไม่มีงานศึกษาใดที่มีการศึกษาถึงกระบวนการเลือกตั้งในสังคมไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน

References

กรมการปกครอง.(2529). รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลนครเชียงใหม่ประจำปี 2528, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ส่วนท้องถิ่น.

กระมล ทองธรรมชาติและคณะ. (2531). การเลือกตั้ง พรรคการเมือง และเสถียรภาพของรัฐบาล. กรุงเทพฯ: ฝ่ายวิจัย คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กิติภูมิชัย วงศ์สนิท. (2553).บทบาทของพรรคการเมืองไทยต่อการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด : ศึกษา กรณีการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดศรีสะเกษ เมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2551, ภาคนิพนธ์หลักสูตรรัฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชัยวัฒน์ สารสมบัติ. (2528). ทหารกับพรรคการเมืองและการเลือกตั้ง (2500-2506), วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการปกครอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธารินี ภาวะสุทธิการ. (2515). ระบบเลือกตั้งและผลสะท้อนต่อพรรคการเมืองในประเทศไทย, วิทยานิพนธ์ รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธำรงศักด์ เพชรเลิศอนันต์. (2550). บทบาททางการเมืองของจอมพลถนอม กิตติขจร พ.ศ. 206-2516, วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงการมหาวิทยาลัย.

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2546). ทิศทางการปกครองท้องถิ่นของไทยและต่างประเทศเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

บูฆอรี ยีหมะ.(2547). นโยบายหาเสียงแนวประชานิยมกับอำนาจทางเศรษฐกิจ: การศึกษาเชิงเศรษฐกิจ การเมืองเกี่ยวกับความสำเร็จในการเลือกตั้งของพรรคไทยรักไทย, วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ดุษฎี บัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงการมหาวิทยาลัย.

บทคัดย่อ. (2556). การสร้างประชาธิปไตยกับปัญหาความขัดแย้งทางสังคมและการเมืองในระดับขาติและ ท้องถิ่น, การประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 14 (พ.ศ. 2556) ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

ปฤฐฏาง จันทร์บุญ. (2553).กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการเลือกตั้งของจังหวัดที่มีผุ้ไปลงคะแนนเสียงมากที่สุด ในประเทศไทย, วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สื่อสารมวลชน) คณะวารสารศาสตร์และ สื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ประจักษ์ ก้องกีรติ.(2555). การเมืองว่าด้วยการเลือกตั้ง : วาทกรรม อำนาจ และพลวัตชนบทไทย, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน.

เพี้ยน อันชูฤทธิ์. (2523). รัฐบาลไทย : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ปัญหาเสถียรภาพของรัฐบาลที่มาจากการ เลือกตั้ง ในช่วง พ.ศ. 2498-2514, วิทยานิพนธ์อักษรศาสรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เพียงกมล มานะรัตน์. (2547).การเมืองเรื่องการเลือกตั้ง: ศึกษากรณีการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง นายกเทศมนตรีของเทศบาลนครเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2547. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต คณะ รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรปณต ปกครอง. (2549). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในการเลือกตั้งนายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา, ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

รัชนี คล้ายนาค. (2546).การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเลือกตั้งนายกเทศมนตรีโดยตรง: ศึกษากรณี เทศบาล เมืองแม่ฮ่องสอน. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

ลิขิต ธีรเวคิน.(2541).วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,

วรสิทธิ์ โรจนพานิช. (2516). การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและผลสะท้อนที่มีต่อการปฏิบัติหน้าที่ ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร์, วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

วรินทร์ทร ปณิธานธรรม. (2551). การเลือกตั้งท้องถิ่นแบบถ่วงดุลการเมืองระดับชาติ : ศึกษากรณีการ เลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547, ภาคนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศุชัยวุธ ชาวสวนกล้วย. (2546). การศึกษาพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร,หลักสูตรรัฐ ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.

สาธิต ชวะโนทัย. (2531). การเลือกสรรผู้สมัครรับเลือกตั้งของพรรคการเมืองไทย, วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาการปกครอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมบัติ จันทรวงศ์. (2540).รายงานวิจัยเรื่อง “การเลือกตั้งผู้ว่าฯกทม.2539: การศึกษายุทธศาสตร์การสร้าง ภาพ”, เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

สายฝน น้อยหีด และวราภรณ์ เผือกเล็ก. (2544). รายงานการวิจัย เรื่อง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎร วันที่ 6 มกราคม 2544, สถาบันพระปกเกล้า.

สนทยา ต่างใจ. (2553). บทบาทผุ้นำชุมชนต่อการเลือกตั้งนักการเมืองท้องถิ่น เทศบาลตำบลสันปูเลย อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่,รายงานศึกษาอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัย การปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อุดม เกสโรทยาน. (2550). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลเมืองน่าน จังหวัดน่าน, ภาคนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารและพัฒนาประคมเมืองและ ชนบท มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 2550.

อัจฉรา ปัณฑรานุวงศ์. (2551). มายาคติและอุดมการณ์ในโฆษณาหาเสียงเลือกตั้งของพรรคไทยรักไทย ใน การเลือกตั้งทั่วไปวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548: การวิเคราะห์ด้วยวิธีสัญวิทยา, วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สื่อสารมวลชน) คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

โอฬาร ถิ่นบางเตียว. (2546). การเมืองท้องถิ่นกับการนำรูปแบบการเลือกตั้งนายกเทศมนตรีโดยตรงมาใช้ใน การปกครองท้องถิ่นของเทศบาล : กรณีศึกษาเทศบาลเมืองมาบตาพุด จังหวัดระยอง,วิทยานิพนธ์ สาขานโยบายสาธารณะ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.

แนวคิดเกี่ยวกับการเลือกตั้ง (ม.ป.ป.). http://www.gpf.or.th/cgi- bin/CMS/SecretaryGeneral
/secretaryf1.pdf, สืบค้นวันที่ 6 มกราคม 2557

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2018-12-31