ปัจจัยการบริหารที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล ของกรมสอบสวนคดีพิเศษ

ปัจจัยการบริหารที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล ของกรมสอบสวนคดีพิเศษ

ผู้แต่ง

  • ศุภศักดิ์ บุญญะสุต มหาวิทยาลัยศรีปทุม

คำสำคัญ:

การบริหาร หลักธรรมาภิบาล กรมสอบสวนคดีพิเศษ

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์การเพื่อศึกษาระดับผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลของกรมสอบสวนคดีพิเศษ ปัจจัยการบริหารที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลของกรมสอบสวนคดีพิเศษ ปัญหาและอุปสรรคของการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลของกรมสอบสวนคดีพิเศษ และแนวทางสำหรับการพัฒนาการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลของกรมสอบสวนคดีพิเศษ เป็นการวิจัยในรูปแบบเชิงผสม ทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ คือ เจ้าหน้าที่ของกรมสอบสวนคดีพิเศษในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 288 คน ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างสำหรับวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของกรมสอบสวนคดีพิเศษในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 20 คน ดำเนินการเก็บข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีทางสถิติเบื้องต้น ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์ข้อมูลการถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย กำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ระดับ .05
ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลของกรมสอบสวนคดีพิเศษอยู่ในระดับสูง 2) การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย พบว่า สมรรถนะของเจ้าหน้าที่ ภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชา วัฒนธรรมองค์การ การกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ และสภาพแวดล้อมในการทำงาน มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลของกรมสอบสวนคดีพิเศษอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ปัญหาและอุปสรรคของการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลของกรมสอบสวนคดีพิเศษ ได้แก่ การมีส่วนร่วม ควรให้ประชาชนมีการตรวจสอบในการดำเนินงาน แสดงความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะ เป็นการสร้างความโปร่งใสในการดำเนินงานให้กับกรมสอบสวนคดีพิเศษ

References

กรมสอบสวนคดีพิเศษ. (2556).แผนยุทธศาสตร์กรมสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. 2555-2559.กรมสอบสวนคดี
พิเศษ กระทรวงยุติธรรม.
โกวิทย์ กังสนันท์. (2552). ธรรมาภิบาลภาครัฐ : รากฐานและความท้าทายต่อรัฐบาลไทย. วารสารสถาบัน
พระปกเกล้า 7,1: 629-648.
ธนกฤต โพธิ์เงิน. (2557). ปัจจัยด้านการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลที่มีผลต่อประสิทธิผลการ
บริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตจังหวัดปทุมธานี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัย
ปทุมธานี 6, 2 (พฤษภาคม – สิงหาคม): 320-328.
ประมา ศาสตระรุจิ. (2550). การพัฒนาเกณฑ์สมรรถนะในการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารศูนย์
เทคโนโลยีทางการศึกษา สำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน. ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา
การศึกษาผู้ใหญ่,มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สมชาย สุเทศ. (2554). การบริหารการจัดการภาครัฐแนวใหม่ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัด
นครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัย
ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.
สิริกาญจน์ เอี่ยมอาจหาญ. (2554). การนำนโยบายธรรมาภิบาลไปปฏิบัติในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น:
วิเคราะห์กรณีองค์กรปกครองท้องถิ่น อำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญา
ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
สุเทพ เชาวลิต. (2537).การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์เสมาธรรม.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.(2548). การปรับใช้สมรรถนะในการบริหารทรัพยากรมนุษย์.
กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2552). คู่มือการจัดระดับการกำกับดูแลองค์การภาครัฐตาม
หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance Rating).กรุงเทพฯ:
พรีเมียร์โปร.
อลงกต แผนสนิท. (2557). การนำนโยบายไปปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลของราชการส่วนภูมิภาคใน
จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาลัย
บัณฑิตศึกษาด้าน การจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
อุบล ยะไวทย์ณะวิชัย. (2553). การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลใน
จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
Burns, MacGregor J. (2003). Transforming Leadership: A New Pursuit of Happiness. New
York: Atlantic Monthly Press.
Daft, Richard L. 1992. Management. 2nd ed. New York: Dryden.

Eliza , Wakasangula et al (2015). The Influence of Leadership on Good Governance: The
Case of Selected Villages in Rungwe and Babati District Councils in Tanzania. A
Research Report of the School of Public Administration and Management (SOPAM),
The Mzumbe University.
Evers, Colin. W., and Lakomski, Paul G. (2000). Doing Educational Administration: A Theory
of Administrative Practice. Oxford: Pergamon Press.
Handy, C. (1993). Understanding Organizations. 4 th. ed. London-UK: Penguin Books Ltd.
Kamagi, Yohanis Baptista Kristo. (2012). Factors Affecting the Performance of Local
Government Employees in Implementing the Good Governance in the District of Talaud Islands. Sekolah Pascasarjana, Institute Pertanian Bogor,Bogor.
Kinicki, Angelo and‎ Williams, Brian. (2009). Management: A Practical Introduction. 6th
Edition. Boston : McGraw-Hill.
Knack, Stephen, and Anderson, Gary. (1999). "Is ‘Good Governance’ Progressive?" World
Bank, Working Paper.
Kouzes, James M. and Posner, Barry Z. (2002). The Leadership Challenge. San Francisco :
Jossey Bass Publishers.
Lynn, Laurence E. Jr. (1987). Managing Public Policy. Boston, MA: Little Brown.
Lynn, Laurence E. Jr., Heinrich, Carolyn J., and Hill, Carolyn J. (2001). Improving
Governance: A New Logic for Empirical Research. Washington, DC: Georgetown
University Press.
Mashaw. J.L. (1997). Greed, Chaos, and Governance: Using Public Choice to Improve
Public Law. Haven, Connecticut: Yale University Press.
McClelland, David C. (1973). “Testing for Competence Rather than Intelligence”. American
Psychologist (28): 1-14.
Okechukwu, Bartholomew Okagbue. (2012). Ethical Leadership and Good Governance in
Nigerian Local Governments. Degree of Doctor of Philosophy Public Policy and Administration, Walden University.
Owens, Robert G. (1995). Organizational Behavior in Education. Boston : Allyn and Bacon.
Sabel, C.F. (1993). Constitutional Ordering in Historical Context. in F.W. Scharpf. Games in
Hierarchies and Networks: Analytical and Empirical Approaches to the Study of Governance Institutions. Boulder Colo: Westview Press.
Seesaghur, Hans Nibshan. (2015). Good Governance with Chinese Characteristics: A
Perspective of China's Socialist Model. Doctoral in Public Administration School of Political Science and Public Administration, Wuhan University, China.
Thompson, James. D. (2010). Organization in Action : Social Science Bases of
Administrative Theory. New York: McGraw-Hill.


Wendell, French, L., and Bell, Cecil H.(1984). Organization Development ; Behavioral
Science Interventions for Organization Improvement. Englewood Cliffs, N.J.: Prentice- Hall.
Yamane, Taro.(1973). Statistics an Introductory Analysis. 3 rd. ed. New York: Harper & Row.

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2018-12-31