การพัฒนาบทเรียนโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง การถ่ายภาพเพื่อการศึกษาด้วยโทรศัพท์มือถือ แบบสมาร์ทโฟน สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี

ผู้แต่ง

  • EKKAWIT THOPURIN Faculty of Education Burapha University Chonburi Thailand

คำสำคัญ:

บทเรียน, โมบายแอพพลิเคชั่น, การถ่ายภาพ, โทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง การถ่ายภาพเพื่อการศึกษาด้วยโทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟน สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 85/85 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้ใช้บทเรียนโมบายแอพพลิเคชั่น 3) ศึกษาความคิดเห็นของผู้ใช้บทเรียนโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง การถ่ายภาพเพื่อการศึกษาด้วยโทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟน สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นิสิตระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 60 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) บทเรียนโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง การถ่ายภาพเพื่อการศึกษาด้วยโทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟน สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี 2) แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน 3) แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้ใช้บทเรียนโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง การถ่ายภาพเพื่อการศึกษาด้วยโทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟน สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าร้อยละและค่าเฉลี่ย

ผลการวิจัยพบว่า 1)บทเรียนโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง การถ่ายภาพเพื่อการศึกษาด้วยโทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟน สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี มีประสิทธิภาพเท่ากับ 86.81/89.25
2) ผู้ใช้บทเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความคิดเห็นของผู้ใช้บทเรียนโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง การถ่ายภาพเพื่อการศึกษาด้วยโทรศัพท์มือถือแบบ
สมาร์ทโฟน สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี โดยภาพรวมอยู่ในระดับเหมาะสมมาก

References

เกียรติศักดิ์ มุขสิกรัตน์. 2559. การประยุกต์แนวคิดของการออกแบบเว็บไซต์ที่รองรับการใช้งานบน
ทุกขนาดของหน้าจออุปกรณ์สำหรับระบบติดตามผลการเรียนของนักเรียน.
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสีารสนเทศ
คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา.
ถนอมพร ตันพิพัฒน์. (2539, กรกฏาคม-กันยายน). “อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษา,”
วารสารครุศาสตร์. 25(1) : 1-11.
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2545). หลักการออกแบบและสร้างเว็บเพื่อการเรียนการสอน. เชียงใหม่ :
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ. (2559). พฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนในชั้นเรียนของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. สุธิปริทัศน์ ปีที่ 30 ฉบับที่ 95 กรกฏาคม – กันยายน 2559.
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. (2560). ออกแบบมหาวิทยาลัยให้ Smart.
(Online). Available : https://thematter.co/pulse/tu-smart-city/33520


ปฐมพงษ์ ฤกษ์สมุทร ณัฏฐปคัลย์ สลับแสง และปณัญภพ เชื่อมสุข. (2560). การพัฒนาโมบายเกม
แอพพลิเคชันสำนวนสุภาษิตบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัย
ธนบุรี(วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฏาคม – ธันวาคม 2560.
กรุงเทพฯ.
ปิยนุช วงศก์ลาง ศิริรัตน์ เพ็ชร์แสงศรี และผดุงชัย ภู่พัฒน์. (2557). บทเรียนโมบายในรูปแบบ
การ์ตูนแอนิเมชั่นสำหรับการเรียนแบบร่วมมือ เรื่อง อาเซียนศึกษา ของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4. งานประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา ปี พ.ศ. 2557 (Graduate Research Conference 2014). กรุงเทพฯ
พรพิมล ใช้สงวน และมาลีรัตน์ โสดานิล. (2558). การพัฒนาโมบายแอปพลิเคชั่นการดูแลสุขภาพ
ช่องปากและฟันสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. The Eleventh National Conference on Computing and Information Technology. NCCIT2015.
ภาคภูมิ ศิริวานิชกุล. (2557). การพัฒนาบทเรียนผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ เรื่อง การออกแบบจัดสวน.
วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทางการอาชีวะและ
เทคนิคศึกษา. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. กรุงเทพฯ.
ภาณุมาศ เมษประสาท อรรถพร ฤทธิ์เกิด และฉันทนา วิริยเวชกุล. (2560). การพัฒนาบทเรียน
ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ เรื่อง กระบวนทัศน์ใหม่ทางเทคโนโลยีการศึกษา. วารสารวิชาการ
ครุศาสตร์อุตสาหกรรม พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน
2560. กรุงเทพฯ.
ภัทรสุดา จันทร์ศรี. (2552). การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างสารสนเทศเว็บไซต์การท่องเที่ยว
จังหวัดเชียงใหม่สำหรับนักท่องเที่ยงสะพายเป้จากยุโรป. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ : 143.
ยืน ภู่วรวรรณ. (2559). Internet of Things on Cloud and Big Data for Thailand 4.0.
(Online). Available : http://www.li.mahidol.ac.th/conference2016/internetofthinks.pdf
ยืน ภู่วรวรรณ. (2561). บทบาทบุคลากรสายสนับสนุนต่อการพัฒนา Digital University.
งานประชุมวิชาการ ปขมท. ปี พ.ศ. 2561 วันที่ 3 – 4 พฤษภาคม 2561
ห้องประชุมคอนเวนชั่นฮอลโรงแรมท๊อปแลนด์พลาซ่าจังหวัดพิษณุโลก.
ราชกิจจานุเบกษา. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. เล่ม 116 ตอนที่ 74 ก.
19 สิงหาคม 2542.กรุงเทพฯ.
รุจโรจน์ แก้วอุไร. (2543). การพัฒนาระบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายใยแมงมุม.ปริญญานิพนธ์
กศ.ด. (เทคโนโลยีการศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ถ่ายเอกสาร.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2536). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ
: สุวีริยาสาส์น.



วงษ์ปัญญา นวนแก้ว ชเนตตี พิมพ์สวรรค์ และจรัญ เจิมแหล่. (2560). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้
โดยเอ็มเลิร์นนิ่ง วิชากระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ 2 ด้วยโปรแกรมประยุกต์ลักษณะฟอร์ม. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม. ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2559.
วรัลลวร พิสิฐกุลธรกิจ. (2558). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การเขียนโปรแกรมคำสั่งวนซ้ำ
เพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้ร่วมกับเทคนิคโพสต์-อิท โน้ต สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา
ปีที่ 5. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. กรุงเทพฯ.
สิริธร เจริญรัตน์ ชฎารัตน์ พิพัฒนนันท์. (2558). การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ลายไทย
บนอุปกรณ์เคลื่อนที่. รายงานการวิจัยทุนส่งเสริมงานวิจัยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. กรุงเทพฯ.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2560). แนวโน้มคนไทยใช้สมาร์ทโฟนมากขึ้น. ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงาน
สถิติแห่งชาติ. 24 พฤษภาคม 2560. (Online). Available :
http://www.nso.go.th/sites/2014/Pages/ActivityNSO/A24-05-60.aspx
อุมาพร แก้วทา. (2558). การพัฒนาบทเรียนผ่านสมาร์ทโฟนตามแนวคิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ เรื่อง
การพัฒนาเว็บไซต์สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถามศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์
มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ธัญบุรี.
Fan, Chung. (1952). Item Analysis Tab. Princeton, New Jersey : Education Testing
Service.
Graham, D., McNeil, J and Pettiford, L. (2001). Untangled Web : Developing Teaching
on the Internet. London : Prentice Hall.
Morks, John & Jacob Nielson. (1997). “Concise, Scanable and Objective : How to
Write for the Web.” Sun Microsystems.
Martina Holenko Dlab, Natasa Hoic-Bozic, Ivica Boticki. (2017). World Academy of
Science, Engineering and Technology. International Journal of Educational and
Pedagogical Sciences Vol:11, No:10, 2017. 2351International.
Neil, Irwin. (2001). “Online Education’s Dual Course,” CELCEE, ERIC Clearinghouse on
Enterpreneurship Education. (Online). Available :
http://www.celcee.edu/all/c20012075.html
W. PENG and Y. ZHOU. (2015). The Design and Research of Responsive Web
Supporting Mobile Learning Devices. IEEE.
Vicky, Philips. (1998). “Virtual Classroom,” Nation’s Business. U.S. Chamber of
Commerce : Washington, DC 20062-2000. (Online). Available : http://www..celcee.edu/all/c990708.html

Additional Files

เผยแพร่แล้ว

2018-12-31