The Leadership การพัฒนาภาวะผู้นำในการบริหารจัดการวัดตามแนวพุทธศาสตร์สู่ศตวรรษที่ 21
คำสำคัญ:
การพัฒนาภาวะผู้นำ, การบริหารจัดการวัดตามแนวพุทธศาสตร์, การรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ศตวรรษที่ 21บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาภาวะผู้ในการบริหารจัดการวัดตามแนวพุทธศาสตร์ สู่ศตวรรษที่ 21 และพัฒนาภาวะผู้นำในการบริหารจัดการวัดตามแนวพุทธศาสตร์ สู่การก้าวทันการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 หรือไทยแลนด์ 4.0 ผู้นำองค์กรสงฆ์ จะเป็นผู้บริหารที่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไม่ตกยุคล้าหลัง ในขณะที่สังคมกำลังร้องเรียกหาความยุติธรรมและศีลธรรมที่ดีงาม ต้องประพฤติปฏิบัติตามภายใต้กรอบ 3 ส่วนใหญ่ๆ จึงจะดำรงตนเป็นเจ้าอาวาสวัดและผู้นำองค์กรอันเป็นที่เคารพศรัทธาของสังคมไทยได้อย่างยั่งยืน กล่าวคือ
- กรอบของกฎหมาย คือ การปฏิบัติตามกฎหมายบ้านเมืองและกฎของคณะสงฆ์ งดเว้นในสิ่งที่กฎหมายห้าม ไม่ล่วงละเมิด
- กรอบของพระธรรมวินัย คือ การงดเว้นข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม และประพฤติปฏิบัติตามข้อวินัยที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาต ในกรอบข้อนี้ หากพระสงฆ์ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดได้ กรอบของกฎหมายข้างต้นอาจไม่จำต้องขยายความ
- และกรอบของกระแสโลกาภิวัตน์ คือ การรู้และเข้าใจปฏิบัติตามหลักการ วิธีการเข้าถึงสังคมยุคดิจิตอล ที่มีอินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือสำคัญในการเชื่อมต่อ แต่มิใช่ตามกระแสสังคมจนลืมเอกลักษณ์ของสังคม หรือนำพาองค์กรปฏิบัติตามจนคลาดเคลื่อนความถูกต้องตามหลักธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าที่ทรงวางระเบียบไว้ดีแล้ว แต่เป็นการนำความรู้วิทยาการสมัยใหม่มาประยุกต์และพัฒนาบุคลากรให้เกิดสมรรถนะการปฏิบัติหน้าที่ให้ดียิ่งขึ้น รอบรู้เท่าทันกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่เข้าสู่ยุคศตวรรษที่ 21 อย่างประสานประโยชน์กัน
References
น้ำใจไอ้ทอง. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์กำรเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2545 พร้อมกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง และพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ).
พรชัย เจตามาน. (2560) “การพัฒนาการศึกษาภายใต้กรอบประเทศไทย 4.0 สู่ศตวรรษที่ 21” หลักสูตรพุทธ
บริหารการศึกษา, ภาควิชาบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549). พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2545). ภาวะผู้นำความสำคัญต่อการพัฒนาคนพัฒนาประเทศ. กรุงเทพมหานคร
ธรรมสภา และสถาบันบันลือโลก.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), (2545). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. หน้า 149.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2550). หัวใจพระพุทธศาสนา. วารสารพุทธจักร ปีที่ 61 ฉบับที่ 5,
พฤษภาคม. หน้า 7.
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี). (2550). คนสำราญ งานสำเร็จ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้ง
แอนด์ พลับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).
พุทธทาสภิกขุ. วิธีแก้ปัญหาชีวิต. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แสงธรรม, ม.ม.ป.
วิทยาลัยศาสนศึกษา, มหาวิทยาลัยมหิดล. (2551) การบริหารจัดการเพื่อพัฒนาวัด. นครปฐม: วิทยาลัยศาสน
ศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2547). การบริหารหลักการ ทฤษฎี ประเด็นทางการศึกษาและบทวิเคราะห์องค์การทาง
การศึกษาไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ทิพยวิสุทธิ์.
สมพงษ์ เกษมสิน. (2521). การบริหารงานบุคคลแผนใหม่. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
สมศักดิ์ บุญปู่ และคณะ. (2554). 5 ปีพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
เสนาะ ติเยาว์. (2544). หลักการบริหาร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. (2554). การพัฒนาวัดสู่ความเป็นมาตรฐาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
ศิริพร พงศ์ศรีโรจน์. (2540). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: เทคนิค 19.
1.2 งานวิจัย
ฐิติพร สะสม. (2553).“ศึกษาระบบการบริหารและการจัดการวัดในพระพุทธศาสนา กรณีศึกษา : วัดพระธาตุแช่
แห้ง อาเภอภูเพียง จังหวัดน่าน”. พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย.
ภัทรกร วงศ์สกุล. (2554). “ภาวะผู้การเปลี่ยนแปลงกับประสิทธิผลของการบริหารโรงเรียน สังกัด
กรุงเทพมหานคร ในเขตลาดกระบัง”. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยธุรกิจ
บัณฑิตย์.
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.