กรอบแนวคิดการศึกษากระบวนการนำนโยบายสาธารณะไปสู่การปฏิบัติ
Conceptual Framework for Studying the Public Policy Implementation Process
คำสำคัญ:
นโยบายสาธารณะ, การนำนโยบายไปปฏิบัติบทคัดย่อ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติเป็นกระบวนการหนึ่งในกระบวนการนโยบายสาธารณะ และถือว่าเป็นขั้นตอนสำคัญซึ่งต้องใช้องค์ความรู้ทั้งศาสตร์และศิลป์ในการบริหารนโยบาย การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติจำเป็นต้องทำความเข้าใจในรายละเอียดของปฏิสัมพันธ์ ความเชื่อมโยงการพึ่งพา ตลอดจนความเป็นอิสระขององค์การและบุคคลที่เกี่ยวข้องในขั้นตอนของการนำนโยบายไปปฏิบัติโดยแบ่งการนำนโยบายไปปฏิบัติออกเป็น 2 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ (1) การนำนโยบายไปปฏิบัติในระดับมหาภาค (Macro Implementation) ประกอบด้วย (ก) การแปลงนโยบายให้เป็นแผนงานและโครงการ และ (ข) การยอมรับนโยบายของหน่วยงานระดับภูมิภาคและท้องถิ่น (2) การนำนโยบายไปปฏิบัติในระดับจุลภาค ประกอบด้วย (ก) การระดมพลัง (ข) ขั้นตอนการปฏิบัติ และ (ค) การสร้างความเป็นปึกแผ่นหรือความต่อเนื่องและความสำเร็จและผลลัพธ์ อย่างไรก็ตามสำหรับตัวแบบแนวทางการนำนโยบายสาธารณะไปสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วย 3 ทฤษฎีหลัก ได้แก่ ทฤษฎีการนำนโยบายไปปฏิบัติจากบนลงล่าง ทฤษฎีการนำนโยบายไปปฏิบัติจากล่างขึ้นบน และ ทฤษฎีการนำนโยบายไปปฏิบัติแบบผสม
References
กล้า ทองขาว. (2551). เอกสารประกอบการสอนชุดวิชานโยบายสาธารณะและการวางแผน หน่วยที่ 6 เรื่อง การนำนโยบายไปปฏิบัติ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
จุมพล หนิมพานิช. (2547). การวิเคราะห์นโยบาย ขอบข่าย แนว ทฤษฎี และกรณีตัวอย่าง. นนทบุรี : สุโขทัยธรรมาธิราช,
ชรัส ปุณณัสสะ. (2553). ความสำเร็จในการน่านโยบายธรรมาภิบาลไปปฏิบัติของเทศบาลในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ
ถวัลย์ วรเทพพุฒิพงษ์. 2539. การประเมินนโยบาย : ประสิทธิภาพประสิทธิผลและความเป็นธรรมของนโยบาย. กรุงเทพฯ : คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,
ธนวัฒน์ พิมลจินดา. 2559. เอกสารคำสอน วิชา นโยบายสาธารณะ (Public Policy) รหัสวิชา 353511. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
พรรณิลัย นิติโรจน์ (2551). การนำนโยบายการจัดระเบียบหาบเร่แผงลอยกรุงเทพมหานครไปฏิบัติ. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
มยุรี อนุมานราชธน. (2549). นโยบายสาธารณะ. เอกสารตำราหลัก ประกอบการเรียนการสอน หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาการปกครองท้องถิ่น. โครงการความร่วมมือทางวิชาการ กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับสถาบันการศึกษา. กรุงเทพ ฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท.
ลิขิต ธีรเวคิน (2540). การนำนโยบายไปปฏิบัติ : นโยบายไทยช่วยไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ สำนักนายกรัฐมนตรี,
วรเดช จันทศร. (2554). ทฤษฎีการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค,
วิเชียร ชื่นชอบ. (2548). เอกสารประกอบการบรรยายวิชานโยบายสาธารณะ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศุภชัย ยาวะประภาษ. (2552). นโยบายสาธารณะ. พิมพ์ครั้งที่ 8. : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2550). นโยบายสาธารณะ : แนวความคิด การวิเคราะห์และกระบวนการ. กรุงเทพฯ : เสมาธรรม.
สมพิศ สุขแสน. (2551). นโยบายสาธารณะและการวางแผน. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.
สัญญา เคณาภูมิ. (2561). “กระบวนการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะภายใต้กรอบแนวคิดทางรัฐประศานศาสตร์ (Process of Public Policy Analysis under Public Administration Theories)” วารสารนวัตกรรมการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยารามคำแหง, 6 (2) กรกฎาคม-ธันวาคม 2561
อุทัย เลาหวิเชียร. (2544). รัฐประศาสนศาสตร์: ลักษณะวิชาและมิติต่าง ๆ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์เสมาธรรม.
Bardach, Eugene. (1980). “Implementation Studies and the study of Implements,” Presented at the 1980 meeting of American Policy Science Association, University of California, Berkeley.
Catherine Althaus, Peter Bridgman & Glyn Davis. (2007). The Australian policy handbook. 4th ed. Crows Nest, N.S.W. : Allen & Unwin,
Cheema, G. Shabbir and Dennis A Rondinelli. (1980). Implementing Decentrlization Programmes in Asia: Local Capacity for Rural developments. Negoya, Japan: United Nations Centre Regional Developments.
Cheema, G. Shabbir and Dennis A. Rondinelli (eds). (1983). Decentralization and Development: Policy Implementation in Developing Countries. Beverly Hills: Sage Publications
Donald S. Van Meter, Carl E. Van Horn. (1975). “The Policy Implementation Process: A Conceptual Framework”. Administration and Society, 6 (4) : 200- 217
Donald S. Van Meter, Carl Van Horn. (1975). “The Policy Implementation Process: A Conceptual Framework”. Administration & Society, 6 (4) : Published - Jan, 1975, p. 445-488
Dunn, W. N. (1994). Public policy analysis: An introduction. 2nd ed. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.
Easton, David. (1953). The Political System : An Inquiry in to the State of Political Science. New York : Alfred A. Knorf. pp.218- 221.
Emest, R.A (1985). “Interorganizational Coordination: Theory and Practice”. Journal of Planning Literature. 19 (9) : 23-28
Gardiner, John A. and George 1. Balch. (1988). “Getting People to Protect Themselves” in John Brigham and Don W. Brown. Policy Implementation: Penalties or Incentive? Beverly Hill, London: Sage Publications, Inc., pp. 113-130
Hogwood, B. W., and Gunn, L. A. (1984). Policy Analysis for the Real World. Oxford University Press, New York
Ingram, Helen M. & Mann, Dean E. (1980). Why Policies Succeed or Fail. California: Sage.
Nakamura, R. T., & Smallwood, F. (1980). The politics of policy implementation. New York: St. Martin’s Press.
Pressman, J. L. & Wildavsky, A. (1973). Implementation. 2nd ed. California: University of California.
Pressman, J. L. & Wildavsky, A. (1973). Implementation. 2nd ed. California: University of California.
Putt, T. & Springer, K. (1989). Policy research: Concepts, methods, and applications. New York: Prentice- Hall.
Quade, E. S. (1982). Analysis for Public Decisions. 2nd Edition. New York: Elsevier Science.
Thomas R. Dye. 2013. Understanding Public Policy. 15th Edition. Florida State University, NJ: Prentice-Hall.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.