บทบาทของพระสังฆาธิการในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
คำสำคัญ:
บทบาท, การบริหารกิจการคณะสงฆ์บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาบทบาทของพระสังฆาธิการในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ด้านการปกครอง ด้านการศาสนศึกษา และด้านการเผยแผ่ 2) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขปัญหาในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
ผลการวิจัยพบว่า
- 1. พระสังฆาธิการ ในอำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี มีบทบาทในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ด้านการปกครอง ด้านการศาสนศึกษาและด้านการเผยแผ่ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน ปัญหาและอุปสรรคได้แก่ พระภิกษุสามเณรมีจำนวนลดลงการศึกษาคณะสงฆ์ยังขาดงบประมาณอุดหนุนอย่างทั่วถึง คนรุ่นใหม่เข้าวัดน้อยลง
- 2. แนวทางแก้ไข พระสังฆาธิการผู้มีอำนาจหน้าที่ในเขตปกครองของตนควรออก
เยี่ยมเยียนหรือจัดประชุดสัญจรเพื่อรับทราบปัญหาในแต่ละพื้นที่และวางมาตรการแก้ไข้ปัญหาร่วมกัน ด้านการศาสนาศึกษา ควรจัดสรรงบประมาณบำรุงการศึกษาให้แก่สำนักเรียนอย่างทั่วถึง และด้านเผยแผ่ควรมีแผนและมาตรการเชิงรุก ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เข้าถึงประชาชนทุกกลุ่มทุกสาขาอาชีพ
References
คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, การปกครองคณะสงฆ์.(2551). กรุงเทพมหานคร
: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ธงชัย สันติวงษ์. องค์การและการบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 9.(2537). กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.
ปรีชา ช่างขวัญยืน. ความคิดทางการเมืองในพระไตรปิฎก. พิมพ์ครั้งที่ 2.(2538) กรุงเทพมหานคร
: สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
พระครูสุชาติวุฒิกิจ (เฉลิมชัย อภิชาโต). (2538)“บทบาทของพระสังฆาธิการในการบริหารกิจการคณะสงฆ์
อำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา”. วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต).(2539) การปกครองคณะสงฆ์ไทย. กรุงเทพมหานคร : บริษัท
สหมิกธรรมจำกัด.
พระมหาสมทรง สิรินฺธโร. นายแพทย์ประเวส วะสี. นายสมบูรณ์สุขสําราญ และ ส. ศิวรักษ์.(2525) บทบาท
ของวัดและพระสงฆ์ไทยในอนาคต. (กรุงเทพมหานคร : บริษัทเกล็ดไทยจํากัด).
พระเทพปริยัติสุธี (วรวิทย์คงฺคปปัโญ).(2540) เอกสารประกอบคําบรรยายเรื่องการปกครองคณะสงฆ์ และ
การพระศาสนา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.(2539) พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.