ปัญหาอาชญากรรมในสังคม
คำสำคัญ:
อาชญากร, อาชญากรรม, คดีอาญา 4 กลุ่มบทคัดย่อ
ปัญหาอาชญากรรมในสังคมไทยในปัจจุบัน จากข้อมูลคดีอาญา ทางข่าวสารหนังสือพิมพ์ โทรทัศน์หรือ สื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์ ต่างๆ ทั่วราชอาณาจักรมีแนวโน้มที่จะรุนแรงขึ้น ทั้งในด้านสถิติตัวเลข การก่ออาชญากรรม และวิธีการประกอบอาชญากรรมของผู้กระทำความผิด ที่สามารถมองเห็นได้ เช่น คดีลักทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ข่มขืนกระทำชำเรา คดียาเสพติด เป็นต้น และที่มองไม่เห็น เช่น คดีเกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ แก๊งคอลเซ็นเตอร์ การหลอกลวงขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต เป็นต้น จากการนำเสนอภาคข่าวเกี่ยวกับการกระทำผิดผ่านสื่อต่างๆ ทั้งจากโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ และอินเทอร์เน็ต มีจำนวนผู้กระทำความผิด และผู้ที่เป็นเหยื่อของอาชญากรรมเป็นจำนวนมาก ทำให้รัฐบาล จะต้องเพิ่มงบประมาณ ด้านกำลังพล ด้านวัสดุอุปกรณ์ ด้านการสืบสวน สอบสวน การป้องกัน การปราบปรามอาชญากรรม การควบคุม การสร้างสวัสดิการ บำบัดรักษา และการแก้ไขฟื้นฟู ดังนั้น ปัญหาอาชญากรรมในสังคมไทย จะหมดสิ้นไปถ้าคนในสังคมร่วมมือสอดส่องดูแล ให้ความร่วมมือกันและกัน สนับสนุนรัฐบาลและรัฐบาลก็สนับสนุนประชาชนในการรักษาความสงบเรียบร้อย การอยู่ดีกินดี ดำเนินชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง สังคมก็จะสงบสุข
References
สำนักงานยุทธศาสตร์ สำนักงานตรวจแห่งชาติ (2557) การปรับปรุงแบบรายงานคดีและการแจ้ง หลักฐานความผิดคดี
เกษมศานต์ โชติชาครพันธ์ (2550, 2 กุมภาพันธ์) “การป้องกันปราบปรามอาชญากรรมตามสภาพ ปัญหา :ความท้าทายใหม่ในการปฏิบัติงานระดับสถานี” ราชพฤกษ์ 5(2),31-35
โกสิต พุ่มเกตุแก้ว (2552) “การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน: ศึกษาเฉพาะกรณี จังหวัด สุพรรณบุรี”บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
จักรพันธ์ ศักดิ์สิทธานุภาพ (2552) “การมีส่วนร่วมในการพัฒนาเทศบาลของคณะกรรมการชุมชนใน เทศบาล ต.แม่ขะจาน อ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย” รายงานการศึกษาอิสระ ปริญญารัฐ ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง (2526) “การระดมประชาชนเพื่อพัฒนาชนบท” วารสารเศรษฐศาสตร์ ปริทัศน์ ,6(1) ,53-68
ชำนาญ คนไว (2555) “การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารตำรวจ สถานีตำรวจภูธรเมืองขอนแก่น ในการป้องกันอาชญากรรม ของสถานีตำรวจเมืองขอนแก่น ” การศึกษาค้นคว้าอิสระ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.