การพัฒนาเชาว์อารมณ์ของประชาชนจากการจัดกิจกรรมปฏิบัติธรรมเพื่อถวายเป็น พระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร
คำสำคัญ:
เชาว์อารมณ์, การปฏิบัติธรรม, พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาระดับจิตพิสัย ระดับเชาว์อารมณ์ และระดับความพึงพอใจ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจิตพิสัยและความพึงพอใจกับเชาว์อารมณ์ของประชาชนจากการการจัดกิจกรรมปฏิบัติธรรมถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปริมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชน จำนวน 273 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามวัดระดับจิตพิสัย และแบบสอบถามวัดเชาว์อารมณ์ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.764 และ 0.927 ตามลำดับ ค่าสถิติ คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบของวิลคอกซัน การทดสอบของครัสคาลวัลลิส และสหสัมพันธ์ ผลการวิจัย พบว่า ประชาชนมีระดับจิตพิสัย เชาว์อารมณ์ และความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก โดยระดับจิตพิสัยกับความพึงพอใจมีความสัมพันธ์กับเชาว์อารมณ์ค่อนข้างต่ำในทิศทางบวก
References
ชนาธิป ศรีโท. (2561). การปฏิบัติจิตภาวนาด้วยสติเป็นฐานตามแนวเทศนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (หลวงปู่บุญเพ็ง กปฺปโก). วารสารแสงอีสาน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน. ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 ประจำเดือน มกราคม-มิถุนายน, หน้า 89-100.
นุสรา สิงห์พยัคเดช. (2561). การศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 4. สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์. 4 (2) กรกฎาคม-ธันวาคม, หน้า 9-18.
บุญชม ศรีสะอาด. (2546). การวิจัยสําหรับครู. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาส์น.
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2540). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สำนักทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัย ศรีนครินทร์วิโรฒประสานมิตร.
พระครูสุนทรวินัยรส, พระมหาวิทวัส กตเมธี, พินโย พรมเมือง, และคณะ. (2560). การพัฒนาคุณลักษณะความเป็นพุทธศาสนิกชนด้วยการจัดกิจกรรมตอบปัญหาธรรมะ. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ NEUNIC 2017 21 July 2017 North Eastern University. สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2561, จาก http://mbukalasin.com/ login/C1/document/Full-TH-NEUNIC2017byDrPinayo.pdf
พินโย พรมเมือง, สุดใจ ภูกงลี และพระครูสุนทรวินัยรส. (2560). การสร้างหลักสูตรฝึกอบรมเชาว์อารมณ์นักศึกษาครูของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยโดยใช้หลักสมถะวิปัสสนากรรมฐานทางพระพุทธศาสนา. ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจําปีงบประมาณ 2555.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116/ตอนที่ 74 ก/หน้า 1 วันที่ 19 สิงหาคม 2542.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2544). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ. ศ. 2560-2564. สำนักงานคณะ กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติ.
ศุภกานต์ แดงมะลัง. (2559). การศึกษาสมรรถนะด้านการบริหารการประชาสัมพันธ์และความสัมพันธ์ชุมชนตามมาตรฐานวิชาชีพของคุรุสภาของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5. สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์. 3 (1): มกราคม – มิถุนายน, หน้า 7-18.
อัญชลี สารรัตนะ. (2547). การประเมินหลักสูตร. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Afanasyev, S. (2014). Meditation in the Emotional Intelligence Improvement among Russian-Speaking Migrants in Germany. International Journal of Advanced Multidisciplinary Research and Review (IJAMRR), 2(3). 225-243.
Allen, K. N., & Friedman, B. D.. (2010). Affective learning: A taxonomy for teaching social work values. Journal of Social Work Values and Ethics, 7(2), 1-12.
Anderson, L. W., Krathwohl, D. R., Airasian, P., Cruikshank, K., Mayer, R., Pintrich, P., & Wittrock, M. (1992). A taxonomy for learning, teaching and assessing: A revision of Bloom’s taxonomy. New York. Longman Publishing.
Fariselli, L., Ghini, M., & Freedman, J. (2016). Age and emotional intelligence. Six seconds the Emotional Intelligence Network, 2008. Retrieved March, 5.
Liff, S. B. (2003). Social and emotional intelligence: Applications for developmental education. Journal of Developmental Education, 26(3), 28.
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and psychological measurement, 30(3), 607-610.
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.