บทบาทของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทย
คำสำคัญ:
พระสงฆ์, การสอน, ศีลธรรมบทคัดย่อ
โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนได้รับการอุดหนุนจากรัฐบาลโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้พระภิกษุได้เข้าไปพัฒนาศีลธรรมของนักเรียน บทบาทของพระพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนประกอบด้วยการสอนวิชาพุทธศาสนาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน การนำผู้เรียนฝึกสมาธิ และทำพิธีทางพุทธศาสนา สอนหรือทบทวนธรรมศึกษาให้แก่นักเรียนเพื่อเข้าสอบธรรมศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาของคณะสงฆ์ไทย และให้การสนับสนุนโรงเรียนวิถีพุทธโดยการสอนวิชาพุทธศาสนาบูรณาการเข้าสู่วิถีชีวิตให้แก่นักเรียนชาวพุทธ
บทบาทหน้าของพระสอนศีลธรรมเน้นไปที่การสอนวิชาพุทธศาสนาเป็นหลัก ทำให้เกิดประเด็นคำถามว่า บทบาทหน้าที่ดังกล่าวเป็นการสอนศีลธรรมตามวัตถุประสงค์ของโครงการหรือไม่ เพราะการสอนวิชาพุทธศาสนาเพื่อเข้าสู่ระบบการวัดผลและประเมินผล ทำให้เน้นการสอนเนื้อหาในเชิงความจำมากกว่ากระบวนการสร้างหรือพัฒนาศีลธรรมให้แก่ผู้เรียน
พระสอนศีลธรรมในโรงเรียนจึงควรมีบทบาทหน้าที่ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาศีลธรรมของผู้เรียนมากกว่าเน้นสอนเนื้อหาทางพุทธศาสนา โดยการนำปฏิบัติเพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะในการคิดเชิงวิพากษ์ในประเด็นทางศีลธรรม
References
_______________. (2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุ สภา.
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.(2544). การจัดสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา กลุ่มการเรียนรู้สังคม
ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์คุรุสภา.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560). โครงการครูพระสอนศีลธรรม. สืบค้นเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2560, จากhttps://www.krupra.net/new/index.php?url=krupra.(2560).
ราชบัณฑิตยสถาน.(2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : บริษัทนานมีบุ๊คส์
พับลิเคชั่น จำกัด.
สำนักงานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560). คู่มือพระสอนศีลธรรม.
กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สุรพศ ทวีศักดิ์. (2558). ใช้เหตุผลสร้างจริยธรรม. สืบค้นเมื่อวันที่ 13 กันยายน 2558, จาก
https://prachatai.com/journal.(2015).
Additional Files
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.