จินตนาการใหม่การพัฒนาภาวะผู้นำในยุคโลกป่วน
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำ, จิตนาการใหม่, โลกป่วนบทคัดย่อ
ปัจจุบันผู้นำของแต่ละองค์การ จำเป็นต้องตระหนักและให้ความสำคัญในการรับมือให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ทั้งจำเป็นต้องงัดทักษะสำคัญของผู้นำมาใช้แทบทุกกระบวนท่า หรือการปรับแผนกลยุทธ์ให้สามารถรับมือกับวิกฤติที่เกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสม ผู้นำที่มีภาวะผู้นำเป็นปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จของงานและองค์การ ภาวะผู้นำหรือภาวะความเป็นผู้นำไม่ได้เป็นมาโดยกำเนิด แต่สามารถสร้างขึ้นได้ เป็นเรื่องที่เรียนรู้และฝึกฝนได้ การเปลี่ยนแปลงที่คาดไม่ถึงในยุคปัจจุบัน ยุคโลกป่วน (Disruptive World) เกิดนวัตกรรมแบบพลิกฟ้าพลิกแผ่นดิน (Disruptive Innovation) เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างสิ้นเชิงที่ทำให้สิ่งเดิม ๆ ที่มีอยู่บางสิ่งบางอย่างต้องหายไป โลกเปลี่ยนทุกวินาที คนที่ย่ำอยู่กับที่มีแต่สูญพันธุ์ เราต้องย้อนอดีต มองปัจจุบัน สู่อนาคตใหม่ จินตนาการใหม่หรือลองนึกภาพใหม่ (Re-Imagine) ภาวะผู้นำในโลกยุคใหม่ ที่จะต้องพัฒนาให้รอบด้านในทุกมิติ เป็นผู้นำที่มีภาวะผู้นำหรือมีภาวะความเป็นผู้นำ 360 องศา เป็นผู้นำแกนกลาง เป็นผู้นำที่ไม่ใช่คนสั่งการ กำกับควบคุม แต่เป็นผู้นำที่จะต้องดึงศักยภาพบุคลากร ต้องสร้างทุกคนให้เป็นผู้บริหาร มีทักษะผู้นำในยุค New Normal มีภาษาใหม่ของการเป็นผู้นำในการต่อกรกับ Disruption ด้วยการเข้าใจแบบหยั่งรู้ถึงความรู้สึกของผู้อื่น เข้าใจ Digital Disruption ไม่ใช่เป็นการทำลายล้างแต่เป็นการสร้างโอกาสเพื่อความสำเร็จใหม่ในยุคดิจิทัล ใช้ทักษะการโค้ชคือเก่งคิด เก่งคน เก่งโค้ช มี Mindset, Skillset, Toolset ประกอบกับ Hard Skill, Soft Skill รวมถึงมีการ Reskill และ Upskill ภาวะผู้นำเป็นทั้งพรสวรรค์และพรแสวง ที่สำคัญคือการเรียนรู้และฝึกฝนจึงจะเกิดภาวะผู้นำอย่างแท้จริงได้ เมื่อก่อนปลาใหญ่กินปลาเล็ก ปัจจุบันนี้ ปลาเร็วกินปลาช้า ปลา Online กินปลา Onsite แต่ในสถานการณ์นี้ทุกขนาดองค์การต้องเป็นพันธมิตรในการอยู่ให้รอดได้ในยุคการเปลี่ยนแปลงอย่างหนักหน่วงรวดเร็ว ผกผันอย่างบ้าคลั่ง นั่นคือ สมรภูมิ Disruptionสภาวะ VUCA
References
ณัฎฐ์ชุดา วิจิตรจามรี. (2554). การสื่อสารในองค์การ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2561). 5 เทคนิคการพัฒนาภาวะผู้นำ. สืบค้น มีนาคม 30, 2564, จากhttp://gg.gg/uh6e3
ตุลา มหาพสุธานนท์. (2554). หลักการจัดการ. กรุงเทพฯ : พี เอ็น เค แอนด์ สกาย พริ้นติ้งส์.
เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2559). Modern Management การจัดการสมัยใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล กรุ๊ป.
พรทิพย์ อัยยิมาพันธ์. (2563). นิยาม “ผู้นำ” ยุคใหม่ ไม่ใช่คนสั่ง-กำกับควบคุม แต่เป็นคนดึงศักยภาพพนักงาน. สืบค้น มีนาคม 30, 2564, จาก http://gg.gg/uh7fi
พรทิพย์ อัยยิมาพันธ์. (2563). บทบาท “ผู้นำ” ยุคโควิด “ต้องสร้างทุกคนให้เป็นผู้บริหาร”. สืบค้น มีนาคม 30, 2564, จาก http://gg.gg/uh7hu
ภารดี อนันต์นาวี. (2555). หลักการแนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. ชลบุรี: มนตรี.
มัลลิกา ธรรมจริยาวัฒน์. (2554). การจัดการองค์การและการบริหารธุรกิจ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2556). ภาวะผู้นำ: ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิเลิศ ภูริวัชร. (2563). 'ทักษะผู้นำ' ฝ่า Covid-19 DOs & DON’Ts. สืบค้น มีนาคม 30, 2564, จาก http://gg.gg/uh7qm
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2557). ภาวะผู้นำ: ทฤษฎีและนานาทัศนะร่วมสมัยปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: ทิพยวิสุทธิ์.
เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2552). ภาวะผู้นำในประมวลสาระชุดวิชาทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหาร การศึกษา หน่วยที่ 5-8. พิมพ์ครั้งที่ 9. นนทบุรี: สุวีริยาสาส์น.
อริญญา เถลิงศรี. (2563). “ภาษาใหม่ของผู้นำ” ภาวะผู้นำที่จำเป็นในการต่อกรกับ DISRUPTION. สืบค้น มีนาคม 30, 2564, จาก http://gg.gg/uh7qm
อรุณรุ่ง เอื้ออารีสุขสกุล และธีระวัฒน์จันทึก. (2559). “ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง: เปลี่ยนความท้าทายมุ่งสู่ ความสำเร็จขององค์การอย่างยั่งยืน”. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ฉบับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 9, ฉบับที่ 21 (มกราคม-เมษายน) : 845-860
BE Management Coach. (2563). ผู้นำ 3 มิติ.. หนทางรอดในยุค Disruption กับการใช้ ทักษะการโค้ช เพื่อก้าวข้ามความท้าทาย. สืบค้น มีนาคม 30, 2564, จาก http://gg.gg/uh835
thaiwinner. (2563). ภาวะผู้นำในยุคดิจิตอลคืออะไร (Digital Leadership). สืบค้น มีนาคม 30, 2564, จาก http://gg.gg/uh84s
Siam Commercial Bank of Thailand. (2563). ผู้นำต้องเป็นแบบไหนในยุค New Normal. สืบค้น มีนาคม 30, 2564, จาก http://gg.gg/uh84s
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.