บทความวิชาการ การพัฒนาจริยธรรมของผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม
การพัฒนาจริยธรรมของผู้นำตามหลักพุทธธรรม
คำสำคัญ:
การพัฒนา, จริยธรรม, ผู้นำบทคัดย่อ
ประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขเป็นบุคคลที่มีอำนาจสูงสุดในการปกครองแผ่นดินมาเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยโดยประชาชนจะเลือกคนที่ตนเห็นว่าดีที่สุด มีความเหมาะสมที่สุด และสามารถเข้าไปรักษาผลประโยชน์ให้แก่ตนมาเป็นผู้แทนของตน หากผู้นำขาดซึ่งจริยธรรมย่อมทำให้ชุมชน สังคมและประเทศชาติเกิดความเสียหายได้มากกว่าบุคคลทั่วไป
จริยธรรมของผู้นำจึงถือเป็นสิ่งหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศไทย ฉะนั้นผู้นำจึงจำเป็นที่จะต้องมีจริยธรรมคือความรู้เพื่อเป็นประโยชน์สุขทั้งแก่ตนเองผู้อื่นและสังคมโดยส่วนรวม
ในที่นี้ผู้เขียนมุ่งเขียนถึงหลักพุทธจริยธรรมคือธรรมของคนดีที่เหมาะสม ควรจะมี ควรจะเป็น หรือควรจะประพฤติปฏิบัติของผู้นำเป็นสำคัญ
References
กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2541). แนวคิดและทฤษฎีในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมที่เน้นความมีวินัยและความเป็นประชาธิปไตย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
กีรติ บุญเจือ. (2522). สารานุกรมปรัชญา. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2561). ปรัชญาเบื้องต้น. พระนครศรีอยุธยา: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. (2520). จริยศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2550). รายงานการสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมในประเทศไทยและต่างประเทศ. รายงานวิจัยเงินทุนอุดหนุนจากศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม: สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้องค์กรมหาชน.
.(2524). พฤติกรรมศาสตรเลม 2 : จิตวิทยาจริยธรรมและจิตวิทยาภาษา. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิชจํากัด.
เดือน คำดี. (2534). พุทธปรัชญา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
ธนภัทร จันทร์เรือง. (2556) ความคิดเห็นของข้าราชการกรุงเทพมหานครต่อจริยธรรมของนักการเมืองท้องถิ่น. รายงานวิจัยสำนักวิจัยเกษตรศาสตร์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
บุญมี แท่นแก้ว. (2541). จริยธรรมกับชีวิต. กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์.
ประภาศรี สีหอำไพ. (2540). พื้นฐานการศึกษาทางศาสนาและจริยธรรม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระครูรัตนสุตากร (ปราโมทย์ ล่องแก้ว) และคณะ. (2563). การพัฒนาการเมืองตามหลักพุทธธรรม. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7(10), 32-43.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2541). คุณธรรมสำหรับนักบริหาร. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธธรรม.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2545). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพมหานคร: สื่อตะวัน.
.(2541). พุทธธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหานรินทร์ สุรปญฺโญ (เอมพันธ์). (2563). การประยุกต์หลักพุทธจริยธรรมเพื่อพัฒนาจริยธรรมทางการเมืองของผู้นำทางการเมืองในจังหวัดชัยภูมิ. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชารัฐศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วิทย์ วิศทเวทย์. (2528). จริยศาสตร์เบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: อักษรเจริญทัศน์.
วิโรจ นาคชาตรี และคณะ. (2548). ปรัชญาเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วศิน อินทสระ. (2549). พุทธจริยศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ธรรมดา.
สุภัททา ปิณฑะแพทย์. (2550). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
แสง จันทร์งาม. (2526). วิธีสอนของพระพุทธเจ้า. กรุงเทพมหานคร: กมลการพิมพ์.
ไสว มาลาทอง. (2542). การศึกษาจริยธรรม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.