ปัญหาการเรียนออนไลน์
คำสำคัญ:
ญหา; การเรียนออนไลน์; การศึกษาไทยบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เขียนขึ้นเพราะเพื่อให้ทราบถึงปัญหาการเรียนออนไลน์ในสถานศึกษาของประเทศไทย โรงเรียนเป็นสถานที่อันดับแรก ที่ถูกประกาศปิด หลังจากการแพร่ระบาดของโรค COVID 19 ส่งผลให้นักเรียนและครูต้องปรับตัวกับวิธีการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ การเรียนการสอนออนไลน์ (Online learning) ปัจจุบันทั้งครู นักเรียนจึงต้องปรับตัวอย่างมากเพื่อให้เข้ากับสถานการณ์การเรียนการสอนออนไลน์ ปัญหานอกจากนักเรียนบางส่วนไม่พร้อมด้วยข้อจำกัดด้านอุปกรณ์และทุนทรัพย์แล้ว คุณครูหลายคนที่อายุมากแล้ว และคุ้นชินกับการสอนแบบปกติมาตลอดชีวิตก็ต้องปรับตัวอย่างมากเช่นกัน ดังนั้น การจัดนวัตกรรมทางการศึกษาในอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงวิธีเรียนในรูปแบบเดิมให้เป็นการเรียนแบบใหม่ ที่ใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยทำการเรียนเป็นแนวทางการเรียนการสอนที่พึ่งพิงระบบอินเตอร์เน็ตเป็นหลัก “การเรียนการสอนออนไลน์” จึงกลายเป็นเครื่องมือสำคัญที่ระบบการศึกษาในประเทศไทยนำมาใช้ในสถานการณ์โรคระบาด ประเทศไทยนำวิธีการเรียนการสอนออนไลน์มาใช้ เพื่อให้โรงเรียนสามารถดำเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตรที่กระทรวงศึกษาธิการได้วางไว้ เป็นวิธีการแก้ไขปัญหาที่ช่วยให้นักเรียนสามารถศึกษาหาความรู้โดยไม่เสี่ยงต่อการติดเชื้อโควิด การเรียนการสอนออนไลน์จึงถูกตั้งคำถามถึงประสิทธิภาพและความพร้อมของระบบการศึกษาของสังคมไทยอีกด้วย การเรียนออนไลน์ด้วยความไม่พร้อม หรือไม่ได้รับการช่วยเหลือที่เพียงพอ ย่อมจะส่งผลกระทบต่อปัญหาการเรียนและสุขภาพจิตที่รุนแรงมากยิ่งขึ้นได้ บทความนี้ผู้เขียนมีวัตถุประสงค์เขียนถึงภาพรวมถึงปัญหาการเรียนออนไลน์ในปัจจุบัน
References
กรุงเทพธุรกิจ. (2564). เรียนออนไลน์ กับความ ไม่พร้อม ของครอบครัวไทย การศึกษาจะไปทางไหนในวิกฤติโควิด-19,สืบค้นจากhttps://www.bangkokbiznews.com/news/detail/880578,สืบค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2564.
กฤษณา สิกขมาน. (2554). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการสื่อสารภาษาอังกฤษธุรกิจ โดยการใช้การสอนแบบ E-Learning. กรุงเทพมหานคร: รายงานการวิจัยมหาวิทยาลัยศรีปทุม.
ฐาปนีย์ ธรรมเมธา. (2557). อีเลิร์นนิง: จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ e-Learning: from theory to practice.โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
เทพไท เสนพงศ์. (2563). 8 ปัญหาเรียนออนไลน์.,สืบค้นจาก https://www.posttoday.com/politic/news/623839,สืบค้นเมื่อ 23 ธันวาคม 2564.
ไทยรัฐออนไลน์. (2564).ปัญหา เรียนออนไลน์,สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/society/1846958. สืบค้นเมื่อ 21 ธันวาคม 2564.
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ. (2564). การเปิดเรียนของสถานศึกษาในสังกัดและในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ.สืบค้นจาก https://moe360.blog/2020/04/09/.สืบค้นเมื่อ 21 ธันวาคม 2564.
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ. (2564). ปิดสถานศึกษาทั่วประเทศ,สืบค้นจาก https://moe360.blog/2020/03/17/, สืบค้นเมื่อ. 20 ธันวาคม 2564.
ผู้จัดการออนไลน์.(2564). การเรียนการสอนออนไลน์.สืบค้นจาก https://mgronline.com/infographic/detail/9630000051854,สืบค้นเมื่อ 22 ธันวาคม 2564.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). โรงเรียนและนักเรียนมีความพร้อมเพียงใดกับการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์: ข้อค้นพบจาก PISA,สืบค้นจาก https://pisathailand.ipst.ac.th/issue-2020-51 สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2564.
สำนักเลขาธิการสภาการศึกษา. (2548). แนวทางจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพมหานคร: ครุสภา ลาดพร้าว.
โอภาส พุทธเจริญ. (2564). เกาะติดสถานการณ์ ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่: แนวทางการดูแลผู้ป่วยและการป้องกันตนเอง,สืบค้นจาก https://www.chula.ac.th/cuinside/26952,สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2564.
Sanook Campus. (2564). ปัญหาการเรียนออนไลน์,สืบค้นจาก https://www.sanook.com/campus/1400603/, สืบค้นเมื่อ 22 พฤศจิกายน 2564.
UNESCO. Education response,สืบค้นจาก https://en.unesco.org/covid19/education response, สืบค้นเมื่อ, 22 พฤศจิกายน 2564.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารวิชาการแสงอีสาน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.