แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผ่านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงการจัดการความรู้ และพฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรม
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผ่านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การจัดการความรู้ และพฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรม เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง และการสนทนากลุ่ม โดยมีผู้เชี่ยวชาญได้แก่ รองผู้ว่าการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 8 กลุ่มสายงาน และนิติกร 1 คน จำนวน 9 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา (Content analysis) และ วิเคราะห์ส่วนประกอบ (Component analysis) และตรวจสอบข้อมูลด้วยวิธีสามเส้า (Triangulation method) ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีผลต่อประสิทธิภาพขององค์การ ผู้บริหารจะต้องพัฒนาตนเองเพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีต่าง ๆ ของสังคมโลก ซึ่งส่งผลให้ผู้ปฏิบัติงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต้องปรับเปลี่ยนวิธีการในการทำงาน 2) การจัดการความรู้ จะต้องสามารถปรับเปลี่ยนความรู้ให้อยู่ในรูปแบบของทุนปัญญา (Intellectual Capital) โดยมีการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างบุคคลและการเผยแพร่กระจายความรู้อย่างกว้างขวาง และ 3) พฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรม เป็นนวัตกรรมในการทำงานที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับบริบทและปัจจัยความแตกต่างในแต่ละบุคคล รวมถึงการรับรู้การสนับสนุนขององค์กรในการสร้างสรรค์นวัตกรรมและความสัมพันธ์ของผู้บริหาร
References
กาญจนา คลายใจ และวันเพ็ญ เจริญตระกูลปีติ. (2565). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกผู้ให้บริการในการขนส่งโลจิสติกส์ ของผู้ประกอบการธุรกิจอาหารแปรรูปทางการเกษตร ในเขตอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่. วารสารสันติสุขปริทรรศน์, ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม, หน้า 13 - 22
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. (2564). รายงานประจำป 2564. สืบค้นจาก : ttps://www.egat.co.th/ home/wp-content/uploads/2022/04/EGAT-Annual-2021_2022-04-25.pdf, สืบค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2565.
เกษสุดา บูรณศักดิ์สถิตย์ และชวนชื่น อัคคะวณิชชา. (2560). พฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรมของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏ กลุ่มรัตนโกสินทร์. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปศาสตร์, ปีที่ 12 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม, หน้า 138 – 152.
งานนโยบายและพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล. (2565). การจัดการความรู้ (KM). สืบค้นจาก
https://quality.sc.mahidol.ac.th/plan_and_policy/km/, สืบค้นเมื่อ 11 ธันวาคม 2565.
จุฑามาศ อินตรา. (2564). การจัดการความรู้ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของข้าราชการในหน่วยงานสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม. วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา,ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนเมษายน-มิถุนายน, หน้า 275 – 286.
เดือนนภา เสนแก้ว. (2564). วัฒนธรรมทางการเมืองของชนชั้นนำระดับท้องถิ่นไทย. จากมุมมองทฤษฎีชนชั้นนำ. วารสารสังคมศาสตร์และศาสตร์ร่วมสมัย, ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม, หน้า 50 – 67
ปัทมา ศรีมณ. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรมระดับบุคคล : กรณีศึกษาพนักงานสายสนับสนุนมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (วิทยาเขตหาดใหญ่). สารนิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, หน้า 45–48
ปัญญา ธีระวิทยเลิศ. (2559). เทคนิคการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ที่มีประสิทธิภาพ. วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร, ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม, หน้า 284 – 289.
ปาณิศา แสงสุวรรณ, นริศรา พฤทธิ์ธนาพงษ์, เนธิรินทร์ ปัญญาดี, สิลารัต,อิสภาโร, วิชาญ พันธุ์เจริญ, ณัชชา จินาเพ็ญ, กรวิทย์ เกาะกลาง, ศิริพร เพ็งจันทร์. (2565). บทบาทของผู้นำชุมชนต่อการรับมือวิกฤติโครคระบาด COVID-19 กรณีศึกษาตำบลทุ่งคาโงก อำเภอเมือง จังหวัดพังงา. วารสารสังคมศาสตร์และศาสตร์ร่วมสมัย. ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม, หน้า 13-28
ภาวิณี ดีสุขและคณะ. (2558). การจัดการความรู้กับประสิทธิภาพการ ปฏิบัติงานของครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสระบุรี. วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า, ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนกันยายน, หน้า 17-23.
วินิจ ผาเจริญ, สุริยจรัส เตชะตันมีนสกุล, สถาพร แสงสุโพธิ์ และนนท์ น้าประทานสุข. (2565). บทบาทผู้นำชุมชนท้องถิ่นในการเสริมสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนบ้านโป่งกุ่ม ตำบลป่าเมี่ยง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่. วารสารสันติสุขปริทรรศน์, ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม, หน้า 1-12
สิทธิชัย สุขราชกิจ และ ปิยะนาถ บุญมีพิพิธ. (2563). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่สงผลต่อการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9. วารสารวิชาการสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม, หน้า 459 – 472.
เอื้อมพร หลินเจริญ. (2555). เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนกรกฎาคม, หน้า 17 – 29.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการแสงอีสาน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.