การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการผลิตสื่อการสอนในการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน
คำสำคัญ:
การพัฒนารูปแบบ, ทักษะการผลิตสื่อการสอน , ทักษะการผลิตสื่อบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการผลิตสื่อการสอนในการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน (2) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการผลิตสื่อการสอนในการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน (3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น และ (4) เพื่อประเมินประสิทธิผลของการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ดังกล่าว กลุ่มเป้าหมายได้แก่ นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 จำนวน 52 รูป/คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ คู่มือการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ แบบวัดทักษะการผลิตสื่อการสอน และแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (Dependent)
ผลการวิจัยพบว่า
1) ค่าเฉลี่ยของความคิดเห็นของประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อปัญหาการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการผลิตสื่อการสอนในการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก (μ = 4.37)
2) รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการผลิตสื่อการสอนในการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มีองค์ประกอบ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านหลักการ ด้านวัตถุประสงค์ กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ IGPEP และการวัดผลทักษะการผลิตสื่อการสอน
3) ผลการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นแสดงให้เห็นว่า คะแนนทดสอบสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และระดับความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อรูปแบบอยู่ในระดับมากที่สุด ( μ = 4.61)
4) ผลการประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการผลิตสื่อการสอนในการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( μ= 4.60)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการผลิตสื่อการสอนในการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน (2) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการผลิตสื่อการสอนในการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน (3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น และ (4) เพื่อประเมินประสิทธิผลของการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ดังกล่าว กลุ่มเป้าหมายได้แก่ นักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 3 จำนวน 52 รูป/คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ คู่มือการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ แบบวัดทักษะการผลิตสื่อการสอน และแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (Dependent)
ผลการวิจัยพบว่า
1) ค่าเฉลี่ยของความคิดเห็นของประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อปัญหาการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการผลิตสื่อการสอนในการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( μ = 4.37)
2) รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการผลิตสื่อการสอนในการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มีองค์ประกอบ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านหลักการ ด้านวัตถุประสงค์ กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ IGPEP และการวัดผลทักษะการผลิตสื่อการสอน
3) ผลการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นแสดงให้เห็นว่า คะแนนทดสอบสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และระดับความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อรูปแบบอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.61)
4) ผลการประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการผลิตสื่อการสอนในการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( μ = 4.60)
References
ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน. (2562). หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา (4 ปี) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2562. : ขอนแก่น, หน้า 5-6
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2557). ภาวะผู้นำ: ทฤษฎีและนานาทัศนะร่วมสมัยปัจจุบัน.กรุงเทพฯ: ทิพย์ วสิุทธิ์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2552). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552 (Thai Qualifications Framework for Higher Education). เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติ เรื่อง “กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ : การพัฒนารายละเอียดของหลักสูตรและรายวิชาให้มีคุณภาพ” วันที่ 30 กันยายน – 2 ตุลาคม 2552 ณ โรงแรมเรดิสัน กรุงเทพมหานคร.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). สรุปสาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: สำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสำนกันายกรัฐมนตรี.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี(พ.ศ. 2561-2580). (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาตฺิ, สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
สมัครสมร ภักดีเทวา. (2553). การพัฒนารูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่งระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุจิตตรา จันทร์ลอย. (2564). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้การออกแบบเป็นฐานร่วมกับเทคนิคสแคมเพอร์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการออกแบบนวัตกรรมการศึกษาสร้างสรรค์ของนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ, วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุพรรณี บุญหนัก และคณะ. (2564). รูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง. วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ ปีที่7 ฉบับที่2 ประจำเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2564, 53-70
Bandura, A; & Cervone, D, Differential. (1986) engagement of self-reactive influences in Cognitive motivation, Organizational Behavior and Human Decision Processes.
Khul, J., Kraska. (1985). Volitional Mediators of Cognition-Behavior Consistency : Self- Regulatory Processes and Action Versus State Orientation. In Khul, J and Beckmann, J. Action Control from Cognition to Behavior Germany: Springer-Verlag. Berlin.
Schunk, D. H. and B. J. Zimmerman. (1994). Self-Regulation of Learning and Performance:Issues and Educational Applications. New Jersey: Erlbaum. cited in Schunk, D. H.2000. Learning Theories: An Educational Perspective. 3 rded. New Jersey : Prentice-Hall, Inc.
Zimmerman, B. J. (1998). Developing self-fulfilling cycle of academic regulation: An analysis of exemplary instruction models. In Schunk, D. H. and Zimmerman, B. J. (Eds.), Selfregulated learning: From teaching to self-reflective practice (pp. 1-19). New York: Guilford
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิชาการแสงอีสาน Saeng-Isan Academic Journal ISSN:3027-6152(Print), ISSN:3027-6160(Online)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เชียนบทความโดยตรง ซึ่งวารสารไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง นอกจากนั้น ผู้เขียนทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์เผยแพร่นั้น จะต้องไม่เป็นบทความที่กำลังอยู่ในการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่นหรือเคยตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้ว หากมีการใช้ภาพ ข้อความหรือตารางของผู้เขียนหรือผู้นิพนธ์ท่านอื่น ผู้เขียนจะต้องอ้างแหล่งที่มาหรือเจ้าของลิขสิทธ์
Publication Ethic:
The detail published in Saeng Isan Journal is opinion and responsibility of the authors, and it is not relevant with the jouranl. Besides, the authors must certify that the original manuscript is not in the process to publish in other journals or used to publish in other journals. If the authors use paragraphs, pictures or tables from others, the athours must refer to the original sources.
Article Consideration:
Each article will be published by a panel three journalists with expertise in relevant fields, and get the editorial approval before publishing. The review is in the form of The article's double blind.
To comply with copyright law. The author must sign the copy of the article submission form to the journal. In addition, the author must confirm that the original article submitted to the journal is only one publication in Saeng Isan Journal. If the images or tables of other authors appearing in other publications are used, the author must ask permission of the copyright owner before publishing.