วารสารวิชาการคณะผู้บริหารศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี มีบทความประเภทที่แตกต่างกันออกไปเสมอ

            1 บทความวิจัย (บทความวิจัย) รายงานผลการวิจัยใหม่ที่มีองค์ความรู้อันเป็นประโยชน์ที่ไม่เคยมีมาก่อนในวารสารใด ๆ มาก่อน

            2 บทความวิชาการ (บทความวิชาการ) ที่เสนอเนื้อหาความรู้มีกลุ่มเป้าหมายที่เป็นนิสิตนักศึกษาหรือประชาชนทั่วไป

             3 บทความปริทรรศน์ (บทความทบทวน) เป็นบทความที่รวบรวมความรู้จากตำราหนังสือและวารสารใหม่หรือจากผลงานและประสบการณ์ในการเขียนบทความ

 

ส่งบทความ

            บทความที่ความถี่ในวารสารวิชาการคณะผู้บริหารศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรีจะต้องส่งที่ปรึกษาคุณวุฒิจำนวนมาก 3 ผู้ดูแลระบบประเมินคุณภาพบทความก่อนจะติดตามผู้ฟังควรพิจารณาความสำคัญในการเตรียมบทความให้ถูกต้องตามรูปแบบ บทความที่วารสารกำหนดการควบคุมความถูกต้องแน่นอนอย่างต่อเนื่องเพื่อพิสูจน์อักษรและส่งบทความให้กับบทความเพื่อการเตรียมบทความให้ถูกต้องตามรายงานของวารสารมัลติฟังก์ชั่นที่ต่อเนื่องยาวนานเพื่อประสิทธิภาพการทำงานและทางทาง กองบรรณาธิการของลิขสิทธิ์ที่จะไม่พิจารณาบทความจนกว่าจะสามารถแก้ไขได้ให้ถูกต้องตามข้อกำหนดของวารสาร

            การเตรียมบทความ

            บทความต้องพิมพ์ครั้งแรกชุดและเป็น (แบบอักษร) กรณีไทยสารบรรณ (TH Sarabun PSK) กำหนดขนาดดังนี้ ชื่อชื่อเรื่องขนาดตัวอักษร 18 คนหนาหัวข้อขนาดอักษร 14 คนหนาเนื้องเรื่องขนาดอักษร 14 คนกำหนดกั้นหน้าหลังตรง ส่วนระยะห่างระหว่างบรรทัดหนึ่งช่อง (Double Spacing) ตลอดเอกสารพิมพ์หน้าเดียวเพราะกระดาษพิมพ์สั้นขนาดB5 (JIS)พิมพ์ให้อ่านขอบกระดาษด้านซ้ายกับด้านบน 1 นิ้วและความเชื่อกับด้านล่าง 0.75 นิ้วพร้อมใส่ จุดสำคัญทางโภชนาการบนทุกหน้าบทความเป็นเวลานานเกิน 12-15 หน้ากระดาษ B5 (JIS)โดยนับนับรวมระดับและระดับ

             เป็นเวลานานและบทความต่างๆ

             บทความแต่ละบทความจะได้รับการพิจารณาจากการรวบรวมบทความกรองบทความวารสาร (Peer Review) 3 ผู้บริหารระบบการจัดการเรียนรู้เพิ่มเติมจากกองบรรณาธิการก่อนรับประทานอาหารโดยเฉพาะอย่างยิ่งบทความจะมีรูปแบบที่ผู้แต่ง พิจารณาบทความไม่ทราบชื่อหรือข้อมูลในบทความบทความไม่ทราบชื่อผู้พิจารณาบทความ (Double- Blind Peer Review)

 

บทคัดย่อ ( บทคัดย่อ)

            บทคัดย่อควรเป็นเช่นนั้น 250 – 300 คำ ต้องมีบทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษซึ่งบทคัดย่อควรเขียนใจเรื่องที่จำได้บ่อยๆ เอกสารรูปภาพหรือปกติทั่วไปตามลำดับและแยกหัวข้อให้ชัดเจน (วัตถุประสงค์) จุดมุ่งหมายของการศึกษาวิธีการศึกษา (วิธีการ) องค์ประกอบหลักของวิธีการค้นคว้าข้อมูลการวิจัยวิธีการวิจัยที่นำมาศึกษากลุ่มตัวอย่างสถิติที่นำผลการศึกษา (ผลลัพธ์) องค์ประกอบประกอบด้วยผลที่ได้รับจากการวิจัยการศึกษา และเขียนค่าสถิติเป็นประจำผลสรุปของการวิจัยและคำศึกษา สำคัญที่จำเป็นคำสำคัญ 3-5 คำหลักที่ศึกษาและจะอยู่ในส่วนท้ายของบทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษโดยต้องจัดจัด เรียงคำสำคัญตามตัวอักษรและคั่นด้วยเครื่องหมายดุลภาค (,)

 

องค์ประกอบต่างๆ

            1. บทนำ ( บทนำ)โดยตรงกล่าวว่านำโดยอาศัยการปริทรรศน์ (ทบทวน) หลายๆ รายงานการวิจัยความรู้และหลักฐานที่แตกต่างกันจากหนังสือหรือวารสารบ่อยครั้งเรื่องที่ศึกษาและเหตุผลหรือบางทีปัญหาการเรียนรู้ครั้งครั้ง การศึกษาของการศึกษาเป็นเรื่องของการศึกษาให้ชัดเจน

            2. วิธีดำเนินการวิจัย ( วิธีการ)เอกสารประกอบการวิจัยวิธีการศึกษาวิจัยและกลุ่มตัวอย่างการวิจัย นักวิชาการด้านการวิจัยสมุนไพรวิจัยสมุนไพรวิจัยที่วิจัยวิจัยข้อมูล

            3.  ผลการศึกษา (Results) เป็นการแสดงผลที่ได้จาการศึกษาและวิเคราะห์ในข้อ 3.2 ควรจำแนกผลออกเป็นหมวดหมู่และสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ของการศึกษา โดยการบรรยายในเนื้อเรื่องและแสดงรายละเอียดเพิ่มเติมด้วยภาพประกอบ ตาราง กราฟ หรือแผนภูมิ ตามความเหมาะสม

            4.  อภิปรายผล (Discussion) เป็นการนำข้อมูลที่ได้มาจากการวิเคราะห์ของผู้นิพนธ์นำมาเปรียบเทียบกับผลการวิจัยของผู้อื่น เพื่อให้มีความเข้าใจหรือเกิดความรู้ใหม่ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยนั้น รวมทั้งข้อดี ข้อเสียของวิธีการศึกษา เสนอแนะความคิดเห็นใหม่ ๆ ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ เพื่อเป็นแนวทางที่จะนำไปประยุกต์ให้เกิดประโยชน์

            5.  ข้อเสนอแนะ (Suggestion) การแนะแนวการนำผลการวิจัยไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป  

            6.  กิตติกรรมประกาศ (acknowledgements) (ถ้ามี) เป็นส่วนที่กล่าวขอบคุณต่อองค์กร หน่วยงานหรือบุคคลที่ให้ความช่วยเหลือร่วมมือในการวิจัย รวมทั้งแหล่งที่มาของเงินทุนวิจัย และหมายเลขของทุนวิจัย

            7.  เอกสารอ้างอิง (References) ใช้รูปแบบการอ้างอิงแทรกในเนื้อหา (Citations in text) เป็นการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อความไว้ในเครื่องหมายวงเล็บ (  ) แทรกในเนื้อหา ซึ่งมีรูปแบบการเขียนอ้างอิงแตกต่างกันตามประเภทของเอกสารหรือแหล่งที่ใช้อ้างอิง ดังนี้

 

                               การอ้างอิงแทรกในเนื้อหาและการเขียนเอกสารอ้างอิง

 วิธีการเขียนอ้างอิงแทรกในเนื้อหา (Citations in text)

  1. ใช้รูปแบบการอ้างอิงแทรกในเนื้อหาแบบ APA Style (The Publication Manual of the American Psychological Association) การลงรายการอ้างอิงแทรกในเนื้อหา เป็นการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อความไว้ในเครื่องหมายวงเล็บ ( ) แทรกในเนื้อหา ในรูปแบบดังนี้

หมายเหตุ: เครื่องหมาย √ แสดงถึงการเคาะ 1 ครั้ง เวลาลงรายการอ้างอิงแทรกในเนื้อหาและรายการเอกสารอ้างอิงไม่ต้องใส่ลงไป

  1. การลงรายการผู้แต่งทั่วไป

- ผู้แต่งที่เป็นคนไทย ใส่ ชื่อ-ชื่อสกุล โดยไม่ต้องใส่คำนำหน้านาม ยศ หรือ ตำแหน่งทางวิชาการ

- ผู้แต่งชาวต่างประเทศ ใส่เฉพาะนามสกุลและตามด้วยเครื่องหมายจุลภาค ( , )

ผู้แต่งคนไทย

(ชื่อ-นามสกุลผู้แต่ง,√ปีที่พิมพ์,√หน้าที่ใช้อ้างอิง)

ผู้แต่งชาวต่างชาติ

(นามสกุล,√ปีที่พิมพ์,√หน้าที่ใช้อ้างอิง)

3. ถ้ามีการกล่าวถึงชื่อผู้แต่งไว้เป็นการเริ่มต้นประโยค ให้ใส่วงเล็บปีพิมพ์และเลขหน้าต่อจากชื่อผู้แต่ง โดยในวงเล็บไม่ต้องระบุชื่อผู้แต่งซ้ำอีก สำหรับชื่อชาวต่างประเทศให้ใส่นามสกุลของผู้แต่ง

ลมุล√รัตนากร√(2540,√หน้า√105)

Watson√(1992,√p.89) 

4. การระบุเลขหน้าของเอกสารภาษาต่างประเทศที่นำมาอ้างอิง เอกสารหน้าเดียว ใช้อักษรย่อ p. เอกสารมากกว่า 1 หน้า ใช้อักษรย่อ pp.

 (Jensen,√1991,√p.8)

 (Jensen,√1991,√pp.8-15)

5. ถ้ามีผู้แต่ง 2 คน และไม่เกิน 5 คน ให้ลงชื่อผู้แต่งทั้งหมดตามลำดับรายการที่ปรากฏ คั่นคนที่ 1-5 ด้วยเครื่องหมายจุลภาค ( , ) และคนรองสุดท้ายกับคนสุดท้าย คั่นด้วยคำว่า “และ” สำหรับภาษาไทย ส่วนภาษาอังกฤษใช้เครื่องหมาย “&”

 (นวลจันทร์√รัตนากร,√ชุติมา√สัจจานันท์,√และมารศรี√ศิวรักษ์,√2539,√หน้า√75)

(William,√Kates,√&√Devies,√1995,√p.61)

6. ถ้ามีผู้แต่ง เกิน 5 คนหรือตั้งแต่ 6 คนขึ้นไป ให้ใส่เฉพาะผู้แต่งคนแรก และตามด้วยคำว่า “และคนอื่น ๆ” สำหรับภาษาไทย ส่วนภาษาอังกฤษใช้คำว่า “et al.”

(อุบล√บุญชู,√และคนอื่น ๆ,√2539,√หน้า 37)

(Heggs,√et√al.,√1999,√pp. 4-7)

7. ผู้แต่งที่เป็นผู้มีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ สมณศักดิ์

(ม.ร.ว.คึกฤทธิ์√ปราโมช,√2528,√หน้า√17)

(คุณหญิงแม้นมาส√ชวลิต,√2521,√หน้า√53)

(พระธรรมปิฎก√ (ป.อ. ปยุตโต),√2540,√หน้า√70)

8. สิ่งพิมพ์ที่ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง ใช้ชื่อเรื่องแทนชื่อผู้แต่ง

(การพัฒนาสุขนิสัย,√2548,√หน้า√77)

(Organization Management,√2011,√pp.53-54)

9. ข้อความที่นำมาอ้างอิง พบแหล่งที่ใช้อ้างอิงมากกว่า 1 แหล่ง สามารถเขียนไว้ในวงเล็บเดียวกันได้ โดยใช้เครื่องหมาย อัฒภาค ( ; ) คั่นแต่ละงานและเรียงตามลำดับของชื่อผู้แต่ง

(นวลจันทร์√รัตนากร,√2539,√หน้า√37;√มารศรี√ศิวรักษ์,√2552,√หน้า√75;√เยาวภา√โตทรัพย์, 2554,√หน้า√2)

(Heggs,√1999,√p.7;√Kates,√&√Devies,√2004,√pp.23-26)

10. การอ้างอิงเอกสารจากอินเทอร์เน็ต ใช้คำว่า ย่อหน้า สำหรับข้อมูลภาษาไทย และคำว่า para. สำหรับข้อมูลภาษาอังกฤษ

(ชื่อผู้แต่ง,√ปีพิมพ์,√ย่อหน้า)

(สุดแดน√วิสุทธิลักษณ์,√2548,√ย่อหน้า√3)

(Gorman,√2000,√para.3)

 11. การอ้างอิงแหล่งสารสนเทศภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษ ให้เขียนชื่อสกุลผู้แต่ง เป็นภาษาอังกฤษ

            (Yamada, 2020, p.3)

            (Xiao, 2021, pp.85-105)

วิธีการเขียนเอกสารอ้างอิงท้ายบทความ (บรรณานุกรม)

1. พิมพ์ชิดขอบซ้าย โดยไม่ต้องจัดหน้าแบบกระจายตัวอักษร (เครื่องหมาย "√ " แสดงถึงการเว้นระยะ 1 เคาะ ให้ผู้เขียนเคาะแป้น Space bar 1 เคาะ)

2. หากรายการใดไม่มี ไม่ต้องลงรายละเอียดในบรรณานุกรม ให้ลงรายการถัดมาได้เลย

3. การลงรายการผู้แต่ง ผู้แต่งอาจเป็นได้ทั้งบุคคลหรือสถาบัน

- บุคคลสามัญชน >> ตัดคำนำหน้านาม นาย, นาง, นางสาว ดร. นายแพทย์ พล.อ. ผศ. รศ.

- ชาวต่างประเทศ >> เขียนชื่อสกุลขึ้นก่อน คั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค ตามด้วยชื่อต้น                  (First name) และ ชื่อกลาง  (ถ้ามี)

Potter, James W.

Pane, John.

- ผู้มีบรรดาศักดิ์ ฐานันดรศักดิ์หรือสมณศักดิ์ >> กลับเอาบรรดาศักดิ์ไว้หลังชื่อกับ นามสกุล คั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค ( , )

คึกฤทธิ์√ปราโมช,√หม่อมราชวงศ์.

พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺจิตโต).

- สถาบัน >> ให้บันทึกชื่อสถาบันนั้น ๆ โดยเรียงลำดับจากหน่วยงานใหญ่ไปหาหน่วยงานย่อย คั่นด้วยชื่อหน่วยงานด้วยเครื่องหมายมหัพภาค ( . )

  1. ผู้แต่งที่มีฐานะเป็นบรรณาธิการ ให้ลงชื่อผู้แต่ง แล้วตามด้วยเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) และวงเล็บ อักษรย่อ (บก.) สำหรับหนังสือภาษาไทย หรือ (Ed.) หรือ (Eds.) สำหรับหนังสือภาษาต่างประเทศ

ประวิทย์√สุวณิชย์.√(บก.).

            เอื้อมพร√สกุลแก้ว, √และวสุนธรา√ทับทิมแท้.√(บก.).

            Ford,√George√S.√(Ed.).

            Jordan,√Roberts√J,√&√Peter,√Taylor,√A.√(Eds.).

5. การลงรายการชื่อหนังสือ

ชื่อหนังสือให้พิมพ์ด้วยตัวหนาและไม่ขีดเส้นใต้

ชื่อหนังสือที่เป็นภาษาต่างประเทศ ให้ขึ้นต้นอักษรตัวแรกของทุกคำด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ และกรณีมีชื่อเรื่องรอง ให้พิมพ์ตามหลังเครื่องหมายมหัพภาคคู่ ( : ) โดยพิมพ์ชิดอักษรตัวท้าย เช่น

New Jersey: A Guide to Its Past and Present.

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภูมิปัญญาไทยกับการพัฒนาชนบท: กรณีศึกษาจังหวัดพิษณุโลก

 6. การลงรายการครั้งที่พิมพ์ ให้ลงรายการตั้งแต่การพิมพ์ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป แล้วใส่ไว้ในเครื่องหมายวงเล็บ ( ) แล้วตามด้วยเครื่องหมายมหัพภาค ( . )

(พิมพ์ครั้งที่ 2).  (พิมพ์ครั้งที่ 3).  (พิมพ์ครั้งที่ 4). (2nd ed). (3rd ed). (4th ed).

ตัวอย่างการใส่เครื่องหมายมหัพภาค ( . ) หลังชื่อหนังสือ

ชื่อหนังสือ (พิมพ์ครั้งที่). กรณีมีพิมพ์ครั้งที่ในวงเล็บต่อท้าย ไม่ต้องใส่เครื่องหมายมหัพภาค ( . ) ต่อท้ายชื่อหนังสือ

บันทึกถึงดวงดาว (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.

ชื่อหนังสือ. ต้องใส่เครื่องหมายมหัพภาค ( . ) กรณีไม่มี (พิมพ์ครั้งที่). ต่อท้าย

บันทึกถึงดวงดาว. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.

7. หนังสือไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ และปีที่พิมพ์ ใช้อักษรย่อในกรณีต่อไปนี้

 

ภาษาไทย

ภาษาต่างประเทศ

ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ 

(ม.ป.ป.)

(n.d.)

ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์

(ม.ป.ท.)

(n.p.)

นำอักษรย่อมาใส่ในตามตำแหน่ง 

ชื่อผู้แต่ง.√(ปีที่พิมพ์).√ชื่อหนังสือ√(ครั้งที่พิมพ์).√(ม.ป.ท.).:√สำนักพิมพ์.

ชื่อผู้แต่ง.√(ปีที่พิมพ์).√ชื่อหนังสือ√(ครั้งที่พิมพ์).√สถานที่พิมพ์:√(ม.ป.ท.).

ชื่อผู้แต่ง.√(ม.ป.ป.).√ชื่อหนังสือ√(ครั้งที่พิมพ์).√สถานที่พิมพ์:√สำนักพิมพ์.

ชื่อผู้แต่ง.√(ม.ป.ป.).√ชื่อหนังสือ√(ครั้งที่พิมพ์).√(ม.ป.ท.).

8. หากไม่สามารถพิมพ์จบได้ภายใน 1 บรรทัด ให้ขึ้นบรรทัดใหม่โดยย่อหน้าเข้ามา 7 ตัวอักษร (7 เคาะ)

หัทยา กองจันทึก.  (ม.ป.ป.).  ฉลากโภชนาการคืออะไร. สืบค้น มกราคม 27, 2543, จาก

√√√√√√√ http://www.tda.moph.go.th/tda/html/product

9. การจัดเรียง ให้เรียงตามลำดับอักษรของชื่อผู้แต่ง โดยเรียงตามอักษร ก-ฮ A-Z และแยกภาษาไทยกับภาษาต่างประเทศออกจากกัน

10. กรณีที่ผู้แต่งมีชื่อ-สกุลซ้ำกัน ให้เรียงตามปีพิมพ์จากน้อยไปมาก และในบรรทัดต่อไปให้พิมพ์ขีดล่าง 7 ครั้ง แล้วตามด้วยเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) และใส่รายละเอียดชื่อเรื่องและอื่น ๆ ตามปกติ

กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักวิชาการมาตรฐานการศึกษา. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
_______. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

11. การอ้างอิงแหล่งสารสนเทศภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษ ให้เขียนชื่อผู้แต่งเป็นภาษาอังกฤษ และแปลข้อมูลส่วนอื่นๆ เป็นภาษาอังกฤษ

12. กรณีที่ผู้แต่งเป็นสถาบัน องค์กร หน่วยงาน และจัดพิมพ์เผยแพร่เอกสารในคราวเดียวกัน ให้ใช้คำว่า ผู้แต่ง. ใส่ในตำแหน่งของสำนักพิมพ์ (ตามตัวอย่างข้อ 10)

 รูปแบบการเขียนเอกสารอ้างอิงแทรกในเนื้อหา และการอ้างอิงท้ายบทความ

1. หนังสือ

ชื่อผู้แต่ง.(ปีที่พิมพ์).√ชื่อหนังสือ√(ครั้งที่พิมพ์).สถานที่พิมพ์:สำนักพิมพ์.

 อ้างอิงในเนื้อหา

(สำเนาว์ ขจรศิลป์,  บุญเรียง ขจรศิลป์,  สมประสงค์ น่วมบุญลือ,  สุริยา เสถียรกิจอำไพ, และบุญสม

ธีรวณิชย์กุล, 2541, หน้า 34-36)

(Jones,  2002, p. 24)

อ้างอิงท้ายบทความ

สำเนาว์ ขจรศิลป์,  บุญเรียง ขจรศิลป์,  สมประสงค์ น่วมบุญลือ,  สุริยา เสถียรกิจอำไพ, และบุญสม

ธีรวณิชย์กุล.  (2541).  การพัฒนารูปแบบค่ายอาสาพัฒนาของนักศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย.

Jones, M. (2002). Social Psychology of Prejudice.  New Jersey: Prentice Hall.

 2. บทความจากวารสาร 

ผู้เขียนบทความ.√(ปีที่พิมพ์,√เดือน).√ชื่อบทความ.√ชื่อวารสาร,ปีที่(ฉบับที่), หน้าที่ตีพิมพ์.

 อ้างอิงในเนื้อหา

(วิกุล  แพทย์พาณิชย์, 2545, หน้า 175-188)

(Bowen, 2005, pp. 175-188)

อ้างอิงท้ายบทความ

วิกุล  แพทย์พาณิชย์.  (2545, มีนาคม-เมษายน). ธุรกิจแฟรนไชส์. เนชั่นสุดสัปดาห์, 4(8), 8-11.

Bowen, J.  (2005, April).  FRBR coming soon to your library?. Library Resources &

Technical Services, 49(3), 175-188.

 3. บทความจากหนังสือพิมพ์ 

ชื่อผู้แต่ง.√(ปีที่พิมพ์,√เดือน√วันที่).√ชื่อบทความ.√ชื่อหนังสือพิมพ์,√ปีที่(ฉบับที่), หน้าที่ตีพิมพ์.

 อ้างอิงในเนื้อหา

(นิธิ เอี่ยวศรีวงศ์, 2544, หน้า 6)

(Schwatz, 1993, p. 9)

อ้างอิงท้ายบทความ

นิธิ เอี่ยวศรีวงศ์.  (2544, มีนาคม 23).  พม่ากับยาเสพติด.  มติชน, 20(121), หน้า 6.

ปัญหาขยะในเมืองเชียงใหม่.  (2546, 15 สิงหาคม).  ไทยนิวส์, 12(23), หน้า 8.

Schwatz, J. (1993, September 30).  Obesity affects economic, social status.            

The Washington Post, 30(134), p. 9.

4.วิทยานิพนธ์ 

ชื่อผู้แต่ง.√(ปีที่พิมพ์).√ชื่อวิทยานิพนธ์.√ระดับวิทยานิพนธ์√มหาวิทยาลัยหรือสถาบัน.

การเขียนระดับวิทยานิพนธ์ ในรูปแบบภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ

ปริญญาโท ใช้คำว่า วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต หรือ Master’s thesis

ปริญญาเอก ใช้คำว่า วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต หรือ Doctoral Dissertation

สำหรับวิทยานิพนธ์ภาษาต่างประเทศ หลังระดับวิทยานิพนธ์ให้ใส่เครื่องหมายจุลภาค ( , ) แล้วจึงตามด้วยชื่อมหาวิทยาลัย

 อ้างอิงในเนื้อหา

(กิ่งแก้ว จันโจมศึก, 2547, หน้า 6-10)

(McKenna, 1999, pp. 9-10)

อ้างอิงท้ายบทความ

กิ่งแก้ว จันโจมศึก. (2547). ผลการเรียนรู้เชิงพุทธิพิสัยของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาโดยใช้สื่อ

ประสมประกอบการดำเนินเรื่องผ่านคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.  วิทยานิพนธ์ปริญญา

มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

McKenna, J. C. (1999).  Sustainable Ethnic Tourism in Northern Thailand. Master’s

thesis, University of Alberta.

 5.รายงานการวิจัย 

ชื่อผู้แต่ง.√ (ปีที่พิมพ์). √ชื่อรายงานการวิจัย√ (ครั้งที่พิมพ์). √สถานที่พิมพ์: √สำนักพิมพ์.

 อ้างอิงในเนื้อหา

(สุขุม พรมเมืองคุณ, 2546, หน้า 6-10)

(สุขุม พรมเมืองคุณ, และคนอื่น ๆ, 2546, หน้า 6-10)

อ้างอิงท้ายบทความ

สุขุม พรมเมืองคุณ. (2546). รายงานการวิจัย เรื่อง ความต้องการพัฒนาความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้นำท้องถิ่นในจังหวัดขอนแก่น. เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

สุขุม พรมเมืองคุณ, และคนอื่น ๆ. (2546). รายงานการวิจัย เรื่อง ความต้องการพัฒนาความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้นำท้องถิ่นในจังหวัดขอนแก่น. เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

6. การสัมภาษณ์

        6.1 บทสัมภาษณ์โดยตรง 

ผู้ให้สัมภาษณ์.√ (ปี,√เดือน√วันที่ที่สัมภาษณ์).√ตำแหน่งหรือที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้.√สัมภาษณ์.

 อ้างอิงในเนื้อหา

(มา มั่งมูล, 2557) 

อ้างอิงท้ายบทความ

มา มั่งมูล. (2557, กรกฎาคม 11). ผู้ใหญ่บ้าน. สัมภาษณ์.

        6.2 บทสัมภาษณ์ที่นำมาตีพิมพ์  

ผู้ให้สัมภาษณ์.√ (ปี,√เดือน√วันที่ที่สัมภาษณ์).√ตำแหน่ง√(ถ้ามี).√สัมภาษณ์.√ชื่อวารสาร,

√√√√√√√ปีที่(ฉบับที่),√หน้า. 

อ้างอิงในเนื้อหา

(ทฤษฎี ชาวสวนเจริญ, 2557) 

อ้างอิงท้ายบทความ

ทฤษฎี ชาวสวนเจริญ. (2557, กรกฎาคม 7). อธิบดีกรมปศุสัตว์. สัมภาษณ์. ไทยรัฐ, 50(1254), หน้า 5.

 7. สารสนเทศจากเว็บไซต์

                        7.1 สารสนเทศจากเว็บไซต์ 

ชื่อผู้แต่งหรือชื่อหน่วยงาน.√(ปีที่พิมพ์).√ชื่อเรื่อง.√สืบค้น√เดือน√วัน,ปี,√จาก URL

 อ้างอิงในเนื้อหา

(หัทยา กองจันทึก, 2552, ย่อหน้า 2-3) 

(Chiang Mai University, n.d, para. 5)

อ้างอิงท้ายบทความ

หัทยา กองจันทึก. (2552). ฉลากโภชนาการคืออะไร. สืบค้น มกราคม 27, 2553, จาก

            http://www.tda.moph.go.th/tda/html/product/food/label.html

Chiang Mai University. (n.d.). Academic Support and Services Units. Retrieved

September 1, 1999, from http://www.erin.gor.au

                        7.2 บทความวารสารอิเล็กทรอนิกส์จากเว็บไซต์ 

ผู้เขียนบทความ.√(ปีที่พิมพ์).√ชื่อบทความ.√ชื่อวารสาร,ปีที่(ฉบับที่), หน้า.√สืบค้น√เดือน√วันที่,√ปี,

√√√√√√√จาก URL 

อ้างอิงในเนื้อหา

(กณิกร ทวนทอง, และนพคุณ คุณาชีวะ, 2561, หน้า 125-136)

อ้างอิงท้ายบทความ

กณิกร ทวนทอง, และนพคุณ คุณาชีวะ. (2561).  การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับ

ใจความ  สำคัญของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย 2 โดยใช้วิธีกาสอนแบบ SQ4R กับวิธีการสอนแบบปกติ. วารสารออนไลน์บัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 4(1), 125-136. สืบค้น พฤษภาคม 16, 2564, จาก http://www.edu-journal.ru.ac.th/index.php/abstractData/ viewIndex/2357.ru

8.เอกสารการประชุมสัมมนา

                        8.1 เอกสารการประชุมที่ตีพิมพ์เป็นรูปเล่ม 

ชื่อผู้แต่ง.√(ปีที่พิมพ์).√ชื่อบทความ.√ใน√ชื่องานประชุม วันที่ เดือน ปี√(หน้า).√สถานที่พิมพ์:√

√√√√√√√ สำนักพิมพ์. 

อ้างอิงในเนื้อหา

(อุมาพร สุทธิวงศ์, 2545, หน้า 38-48)

อ้างอิงท้ายบทความ

อุมาพร สุทธิวงศ์. (2545). มาตรฐานแรงงานกับการค้า. ใน การประชุมระดับชาติมาตรฐานแรงงานเพื่อการส่งออก วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2545 (หน้า 38-48). กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน.

                        8.2 เอกสารการประชุมที่ไม่ได้ตีพิมพ์เป็นรูปเล่ม 

ชื่อผู้แต่ง.√(ปีที่พิมพ์).√ชื่อเรื่อง.√เอกสารเสนอต่อที่ประชุม√ครั้งที่√วันที่,√สถานที่พิมพ์. 

อ้างอิงในเนื้อหา

(ฉวีลักษณ์ บุญยะกาญจน, 2540, หน้า 12)

(โอ'นีล และ ชาน, 2003, หน้า 5)

บทความท้ายบทความ

ฉวีลักษณ์ บุญยะกาญจน. (2540). การบริหารเพื่อความเป็นเลิศเอกสารเสนอต่อการประชุมสัมมนาระหว่างห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ครั้งที่ 15 วันที่ 26-28 พฤศจิกายน 2540, ขอนแก่น.

O'Neill, Edward T. และ Chan, Lois Mai (2003). FAST (การประยุกต์ใช้คำศัพท์เฉพาะเรื่องแบบองค์รวม): คำศัพท์ที่อิงตาม LCSH แบบง่ายเอกสารนำเสนอในการประชุม World Library and Information Congress การประชุมใหญ่และสภา IFLA ครั้งที่ 69 1-9 สิงหาคม 2003 เบอร์ลิน

9. เอกสารรอง (จัดเก็บข้อมูลใน)

            รายงานนำแนวคิดหรือทฤษฎีของผู้อื่นที่เคยอ้างอิงมาซึ่งมาเขียนรูปแบบการอ้างอิงในบทความและอ้างอิงบทความดังต่อไปนี้

            หมายเหตุเอกสารภาษาไทยใช้ชื่ออ่างถึงในเอกสารภาษาต่างประเทศใช้คำอ้างโดย

อ้างอิงในเนื้อหา

(จารุวรรณ สินธุโสภณ, 2560, หน้า 16-25 โภชนาการในจินดารัตน์ เบอร์พันธุ์, 2561, หน้า 23)

(Bates, 2010, หน้า 16 อ้างโดย Taylor, 2012, หน้า 401-411)

บทความท้ายบทความ

จินดารัตน์ เบอร์พันธุ์. (2561). ข้อมูลสารสนเทศสำเร็จรูป.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เทย์เลอร์, เอ. (2012). การคิดใหม่เกี่ยวกับการจัดทำรายการหัวเรื่องในสภาพแวดล้อมออนไลน์ทรัพยากรห้องสมุดและบริการทางเทคนิค 33(4), 401-411

10.ราชกิจจานุเบกษา

ชื่อประกาศ.√(ปีพ.ศ., √วันที่√เดือน).√ราชกิจจานุเบกษา.√เล่ม√ตอน.√หน้า. 

อ้างอิงในเนื้อหา

(สาขามหาวิทยาลัยบูรพาพุทธศักราช 2533. 2533, 29 กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 107 ตอนที่ 131. หน้า 1-20

บทความท้ายบทความ

การแข่งขันมหาวิทยาลัยบูรพาพุทธศักราช 2533. (2533, 29 กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา.

เล่ม 107 ตอนที่ 131. หน้า 1-20.

 

รูปแบบรูปแบบบทความ >>   บทความวิจัย  บทความวิชาการ