Political Ecology with Construction for Eco-Tourism Management Strategic of Local Government Organization in Songkhla Lake Basin: Koh Yor Sub-District Administration Organization นิเวศวิทยาการเมืองกับการประกอบสร้างยุทธศาสตร์การจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา : องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะยอ

Main Article Content

Aussiri Lapi-e

Abstract

บทความนี้ นำเสนอการประกอบสร้างยุทธศาสตร์การจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศขององค์การบริหารส่วนตำบลเกาะยอ ภายใต้บริบทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา โดยอาศัยการวิเคราะห์วาทกรรมแนววิพากษ์ผ่านมุมมองนิเวศวิทยาการเมืองเพื่อฉายปรากฎการณ์ผลิตซ้ำยุทธศาสตร์ที่ท้าทายชุดโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงอำนาจ รวมทั้งรื้อสร้างวิสัยทัศน์การจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศรูปแบบใหม่อันตกผลึกจากข้อความคิดของประชาชนที่ถูกกำหนดให้มีสถานะเพียงตัวแสดงนอกรัฐ จากกรณีข้างต้นถือเป็นเงื่อนไขสำคัญต่อการขยายบทบาทร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเชิงบูรณาการระหว่างกลไกรัฐกับภาคประชาชนจากข้อสรุป “แหล่งทรัพยากรธรรมชาติล้ำค่าที่ควรอนุรักษ์ ก่อเกิดการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยอย่างยั่งยืน ด้วยระบบการจัดการท่องเที่ยวที่หลากหลาย” ซึ่งเชื่อมโยงบนฐานแนวคิดการดำรงชีพที่ยั่งยืนของคนในชุมชน

Article Details

How to Cite
Lapi-e, A. (2020). Political Ecology with Construction for Eco-Tourism Management Strategic of Local Government Organization in Songkhla Lake Basin: Koh Yor Sub-District Administration Organization: นิเวศวิทยาการเมืองกับการประกอบสร้างยุทธศาสตร์การจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา : องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะยอ. Faculty of Humanities and Social Sciences Thepsatri Rajabhat University Journal, 11(2), 31–46. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/truhusocjo/article/view/240575
Section
Research Article

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและการกีฬา. (2554). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ 2555-2559. กรุงเทพฯ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.

กระทรวงคมนาคม. กรมเจ้าท่า. (2556). ร่างรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการขุดลอกร่องน้ำทะเลสาบสงขลาตอนล่าง. กรุงเทพฯ: กระทรวงคมนาคม.

กรมการท่องเที่ยว. (2559). การท่องเที่ยวโดยชุมชน. สืบค้นเมื่อ พฤศจิกายน 22, 2561, จาก http://www.cbtdatabase.org/cat/communitytourism.

เพ็ญนภา สวนทอง. (2561). แนวคิดและทฤษฎีในการศึกษาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม:มุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 5(2), 95-118.

ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์. (2561). เศรษฐศาสตร์การเมืองสีเขียวและนิเวศวิทยาการเมือง. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วัลลภ รัฐฉัตรานนท์. (2557). เทคนิควิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วรวิทย์ นพแก้ว. (2561). นิเวศวิทยาการเมืองว่าด้วยเรื่องการจัดการพื้นที่ทางวัฒนธรรม “ไร่หมุนเวียน”: ปมปัญหาและความขัดแย้งระหว่างรัฐกับชุมชน. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 5(1), 367-406.

สมศักดิ์ สามัคคีธรรม. (2558). ชุมชน ความเป็นส่วนตัวและการพัฒนาในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารพัฒนาสังคม, 17(1), 1-27.

อัศว์ศิริ ลาปีอี วรุตม์ นาที และศัญฒภัท ทองเรือง. (2560). การพัฒนายุทธศาสตร์การจัดการท่องเที่ยวเชิงนโยบายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา. (รายงานการวิจัย). สงขลา : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ.

องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะยอ. (2559). แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 – 2562. สืบค้น พฤษภาคม 4, 2560, จาก http://www.kohyor.go.th/strategy/?cid=11.

อนุชา เล็กสกุลดิลก. (2541). การศึกษาเพื่อกําหนดรูปแบบการทองเที่ยวเชิงนิเวศทางทะเล (Marine Ecotourism) เสนอต่อการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จัดทําโดย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ: กองบริการที่ปรึกษาศูนย์บริการวิชาการ.

Bryant. R. L. (1992). Political ecology: An emerging research agenda in Third World studies. Political Geography, 11(1), 12-36.

Ostrom, E. (1990). Governing the Commons: The Evolution of Institutions for Collective Action. New York: Cambridge University Press.

Tefera, tesfaye Lemma. (2006). Livelihood Strategies in the Context of Population Pressure: Case Study in the Hararghe Highlands, Eastern Ethiopia. Thesis Ph.D. (Rural Development Planning) Faculty of Natural and Agricultural Sciences. South Africa: University of Pretoria.