The Effects of 5E Inquiry Learning Management with Questioning Technique on Learning Achievement and Concepts in Biology of Secondary Education Year 4 Students ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและมโนทัศน์ในวิชาชีววิทยาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
Main Article Content
Abstract
The purposes of this research were to study learning achievement and concepts in biology of Secondary Education Year 4 Students by using 5E inquiry learning management with questioning technique. The participants of this research were 27 of tenth grade students at Pranarai school, Lopburi Province. They were selected through the cluster random sampling. The research instruments were lesson plans using 5E inquiry learning management with questioning technique, learning achievement in biology test, and concepts in biology test. The data were analyzed by using mean, standard deviation, one sample t-test, and dependent sample t-test.
The results of this research showed that the learning achievement and concepts in biology of the tenth grade students after learning 5E inquiry learning management with questioning technique were higher than before learning with a statistically significant at .05 level and higher than the 70 percent criteria with a statistically significant at .05 level.
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่าหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนาญาตจากวารสารวิชาการ ฯ ก่อนเท่านั้น
References
จินตนา สุจจานันท์. (2554). การศึกษาตลอดชีวิตและการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ชนาธิป ชินะนาวิน. (2557, พฤษภาคม-สิงหาคม). รายงานวิจัยเรื่อง การสอนกฎหมาย: การศึกษาเปรียบเทียบวิธีการสอนแบบบรรยาย การสอนแบบทบทวนและถาม. วารสารดุษฏีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ (ฉบับมนุษยศาสตร์), 4(2), 69-81.
ชนาธิป พรกุล. (2554). การสอนกระบวนการคิด: ทฤษฎีและการนำไปใช้. กรุงเทพฯ: วี. พริ้นท์ (1991).
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2553). เทคนิคการใช้คำถามพัฒนาการคิด. กรุงเทพฯ: สหมิตรพริ้นติ้งแอนต์พับลิสซิ่ง.
ณรงค์ กาญจนะ. (2553). เทคนิคและทักษะการสอนเบื้องต้น เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จำกัด.
ดิษพล เนตรนิมิตร, เวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร, และพรรณทิพา พรหมรักษ์. (2558, กันยายน-ธันวาคม). ผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน (5Es) ร่วมกับการใช้คำถามระดับสูงที่มีต่อความสามารถในการให้เหตุผลและมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ฟังก์ชัน ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารศึกษาศาสตร์, 26(3), 53-65.
เดชณรงค์ สุภิมารส. (2529). การวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้คำถามของครูในการเรียนการสอนวิชาเคมีในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เขตการศึกษา 11. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิศนา แขมมณี. (2545). กระบวนการเรียนรู้ ความหมาย แนวทางการพัฒนา และปัญหาข้องใจ. กรุงเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ.
_______. (2555). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พร้อมพรรณ อุดมสิน. (2544). การวัดและการประเมินผลการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2545). พฤติกรรมการสอนวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์, และพเยาว์ ยินดีสุข. (2548). วิธีวิทยาการสอนวิทยาศาสตร์ทั่วไป. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ.
พิศาล สร้อยธุหร่ำ. (2544). การศึกษาวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย (SCIENCE EDUCATION IN THAILAND). กรุงเทพฯ: กุลการพิมพ์.
ล้วน สายยศ, และอังคณา สายยศ. (2539). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
วัชรา เล่าเรียนดี. (2549). เทคนิคและยุทธวิธีพัฒนาทักษะการคิด การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. นครปฐม: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปกร.
วันเพ็ญ บูรณสุข, สุธี พรรณหาญ, และศักดิ์ สุวรรณฉาย. (2556, กันยายน-ธันวาคม). การพัฒนามโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์และทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้เป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยาราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมชูปถัมภ์, 7(3), 128-141.
เวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร. (2552, ตุลาคม-มกราคม). การศึกษามโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนในวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิต “พิบูลบำเพ็ญ”. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย บูรพา, 20(1), 25-35.
ศศิธร เวียงวะลัย. (2556). การจัดการเรียนรู้ Learning Management. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พรินติ้งเฮ้าส์
ศศิวิมล สนิทบุญ. (2559). ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5E) ร่วมกับการใช้คำถามเชิงวิเคราะห์ ที่มีต่อมโนทัศน์และการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่องฟิสิกส์อะตอม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
สกุล มูลแสดง. (2555). หลักสูตรและสาระการเรียนรู้ชีววิทยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2560). รายงานผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560. สืบค้น กันยายน 15, 2560, จาก http://www.niets.or.th.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2549). รายงานการสังเคราะห์แนวคิดและวิธีการเรียนการสอนที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
_______. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สุพลา ทองแป้น, พูนสุข อุดม, และธวัฒน์ชัย เทพนอล. (2552, มกราคม-เมษายน). ผลของการใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะความรู้ร่วมกับเทคนิคการใช้คำถามต่อความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสารวิทยบริการ, 20(1), 57-66.
สุวัฒก์ นิยมค้า. (2531). ทฤษฎีและทางปฏิบัติในการสอนวิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้.
กรุงเทพฯ: เจเนอรัลบุ๊คส์ เซ็นเตอร์.
สุวิทย์ มูลคำ, และอรทัย มูลคำ. (2546). 21 วิธีจัดการเรียนรู้: เพื่อพัฒนากระบวนการคิด (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
อทิติย์ ชูตระกูลวงศ์, และอลิศรา ชูชาติ. (2557, มกราคม-มีนาคม). ผลของการเรียนการสอนแบบสืบสอบโดยใช้คำถามตามการจำแนกประเภทวัตถุประสงค์ทางการศึกษาของบลูมที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฟิสิกส์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสมผสานของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. OJED, 9(1), 3484-398.
Ansberry, K. R., &Morgan, E. (2007). More Picture-Perfect Science Lessons: Using Children's Books to Guide Inquiry, K-4: BSCS 5E Instructional Model. Virginia: the National Science Teachers Association.
Bybee, R., W. (2014). The BSCS 5E Instructional Model: Personal Reflections and Contemporary Implications. Science & Children, 15(8), 10-13.
Bybee, R. W., et al. (2006). The BSCS 5E Intructional Model: Origins and Effectiveness. Colorado Springs: Office of Science Education National Institutes of Health.