Learning Achievement and Science Process Skills Using The Backward Design on Climate Change of Secondary Education Year 1 Students ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ตามการออกแบบย้อนกลับ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของอากาศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

Main Article Content

Ploypailin Yimsomboon

Abstract

       The purposes of this research were to study learning achievement and science process skills of Secondary Education Year 1 Students using the backward design. The participants of this research were 33 of seventh grade students in the second semester of academic year 2016 at a school in Chonburi Province. They were selected through the cluster random sampling. The research instruments consisted of lesson plans using the backward design, learning achievement test, and science process skills test. The data were analyzed by using mean, standard deviation, dependent sample t-test and one sample t-test.                


         The results of this research showed that: The students’ posttest scores of learning achievement after using the backward design were statistically significant higher than the pretest scores at the .05 level. The students’ posttest scores of learning achievement after using the backward design were statistically significant higher than 60 percent criteria at the .05 level. And The students’ posttest scores of science process skills after using the backward design were statistically significant higher than the pretest scores at the .05 level.

Article Details

How to Cite
Yimsomboon, P. (2021). Learning Achievement and Science Process Skills Using The Backward Design on Climate Change of Secondary Education Year 1 Students: ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ตามการออกแบบย้อนกลับ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของอากาศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. Faculty of Humanities and Social Sciences Thepsatri Rajabhat University Journal, 12(1), 29–40. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/truhusocjo/article/view/241826
Section
Research Article

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

ฉวี ไพรดีพะเนาว์. (2549). ผลการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้นที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

เฉลิม พักอ่อน. (2550). การออกแบบการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยเทคนิค Backward Design. กรุงเทพฯ: ประสานมิตร.

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2553). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: แดแน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น.

ประสาท เนืองเฉลิม. (2550, เมษายน-มิถุนายน). การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design). วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 26(2), 82-88.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2552). สอนวิทยาศาสตร์เพื่อความเข้าใจ ด้วยกระบวนการออกแบบย้อนกลับ. กรุงเทพฯ: เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเม้นต์.

ไพศาล วรคำ. (2559). การวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 8). มหาสารคาม: ตักสิลาการพิมพ์.

มูหามัดรุสดี โวะ. (2552). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผลปลายทางที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ และความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสตรีอิสลามวิทยามูลนิธิ จังหวัดยะลา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

สงวน รังดิษฐ์. (2553). การออกแบบย้อนกลับ ในการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง สมการและการแก้สมการ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านดอนก่อกกเหลี่ยม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2555). ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 5). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุพัชชา ประเสริฐ. (2552). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง ร่างกายมนุษย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ Backward Design. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

อาภาพร เปลี่ยนรัมย์. (2552). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ เรื่อง ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้นและการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.