The Development of Computer Assisted Instruction on The Topic of Reading for the Main Idea for Matthayomsuksa 3 Students
Main Article Content
Abstract
The objectives of this research were: 1. to develop computer-assisted instruction on reading for the main idea for Matthayomsuksa 3 students based on the efficiency of 80/80; 2. to compare the students’ learning achievement between before and after the learning; and 3. to study the students’ satisfaction toward the computer-assisted instruction on reading for the main idea. The samples were 14 Mathayomsuksa 3/1 (M. 3/1) students at Bang Rachan Wittaya School, Bang Rachan District, Singburi Province in the 2nd semester of the 2021 academic year. They were recruited using cluster random sampling. The research instruments were; 1) computer-assisted instruction on reading for the main idea texts; 2) an achievement test; 3) a lesson plan on reading for the main idea; and 4) an evaluation form of students’ satisfaction toward the computer-assisted instruction on reading for the main idea, in total 22 items. Data were analyzed using mean ( ), standard deviation, and dependent samples t-test. The results showed: 1. the efficiency of the computer-assisted instruction on reading for the main idea for M. 3 students was 82.86/83.60, which was higher than the set criteria; 2. the students’ learning achievement after the learning was higher with statistical significance at .05; and 3. the students' satisfaction with the computer-assisted instruction on reading for the main idea was at the highest level.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่าหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนาญาตจากวารสารวิชาการ ฯ ก่อนเท่านั้น
References
กรมวิชาการ. (2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
______. (2553). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กัญภร เอี่ยมพญา, นิวัตน์ น้อยมณี, อภิชาต อนุกูลเวช, และดาวประกาย ระโส. (2564, มกราคม - เมษายน). การจัดการศึกษาในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 8(1), 352 - 360.
จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ, และวีรวัฒน์ อินทรพร. (2556). ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เฉิ่น ถิ บิ๊ก ถาว, พิทักษ์ นิลนพคุณ, และชาตรี เกิดธรรม. (2557, กันยายน - ธันวาคม). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความภาษาไทยสำหรับนักเรียนศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนภาษาไทยในกรุงฮานอย. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระราชูปถัมภ์, 8(3), 2 - 11.
ชูชีพ เหลือผล. (2559). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกมตามแนวทางสตอรี่ไลน์ เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ณัฐธิกา กองเกิด, และเอกนรินทร์ สีฝั้น. (2564, กรกฎาคม - ธันวาคม). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค MACRO Model เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารอักษรพิบูล มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2(2), 100 - 114.
ดวงฤทัย ล่องอำไพ. (2562). การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เรื่อง ข้อมูลและการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
ทัศนัย สัปทน, และวิวัฒน์ ทวีทรัพย์. (2564). รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติสำหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ครั้งที่ 1. กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
บันลือ พฤกษะวัน. (2556). แนวพัฒนาการ อ่านเร็ว - อ่านเป็น. กรุงเทพฯ: ธรรมดาเพรส.
พัชรินทร์ บุตรสันเทียะ. (2562). การพัฒนาความสามารถการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แนวคิด Task Based Learning ร่วมกับคำถามของบลูม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เพ็ญวิสา ผาจันทร์. (2560). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ศิริวรรณ แก้วจรัญ. (2561). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง คำควบกล้ำ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
สมนึก ภัททิยธนี. (2558). การวัดผลการศึกษา. กาฬสินธุ์: ประสานการพิมพ์.
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2565). ข้อมูลการสอบ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบางระจันวิทยา. สืบค้น พฤษภาคม 16, 2565 จาก https://sp.moe.go.th/sp_2563/info/?module=page_sch&school_id=1017012003&fbclid=IwAR1tu7MBU3Opf4VwgRl8L7Z7_SUEWsmLoafJ2slrLPVndz-RkceLKpCgX2I.
อนุรักษ์ นวลศรี, และอ้อมธจิต แป้นศรี. (2565, มิถุนายน). การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์. Journal of Modern Learning Development, 7(5), 285 - 300.
Fitz - Gibbon, C. T., & Morris, L.L. (1987). How to Design a Program Evaluation. Newbury Park: Sage Publications.