Administration Guidelines According to The School Development Strategies of School in Educational Fund Project, Lop Buri Province

Main Article Content

Supawee Phunpraphaphon
Sunchai Chucheep
Sermsap Worapanya

Abstract

   The purposes of this research were to 1. study the administrative situation with the school development strategy in the Education Fund Project, Lopburi Province; 2. develop administration guidelines according to the school development strategies of schools in the Educational Fund Project, Lop Buri Province. The sample group includes 4 directors or acting director positions and 31 teachers, totaling 35 samples. The research instrument included a Rating Scale questionnaire 5-level and an in-depth interview. The data was analyzed by using percentages, mean values, and standard deviations, and content analysis was used using descriptive writing.   The results showed that: 1. Administrative situation with the school development strategy in the Education Fund Project, Lopburi Province when considering the total, were at a high level, sorted by average from highest to lowest as follows: 1) Strategy 3 Development of students' characteristics to have discipline, morality, and ethics, 2) Strategy 4 Development of life skills, 3) Strategy 5 Quality school management, 4) Strategy 1 Developing teachers to have potential in organizing teaching and learning activities, 5) Strategy 2 Raising learning achievement. 2. Develop administration guidelines with the school development strategy in the Lop Buri Provincial Education Fund Project consists of  2 strategies, namely Strategy 1 Developing teachers to have the potential to organize teaching and learning activities, which consists of 7 approaches, such as developing teachers' potential to match students' abilities and having the potential to classify individual student's abilities; strategy 2, Elevating academic achievement consists of 11 approaches such as intellectual development of students based on curriculum guidelines and student-centered learning process.      

Article Details

How to Cite
Phunpraphaphon, S., Chucheep, S. ., & Worapanya, S. . (2023). Administration Guidelines According to The School Development Strategies of School in Educational Fund Project, Lop Buri Province. Faculty of Humanities and Social Sciences Thepsatri Rajabhat University Jounal, 14(3), 69–86. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/truhusocjo/article/view/268228
Section
Research Article

References

ประคอง กรรณสูต. (2542). สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประวิทย์ ประมาณ. (2560, กันยายน - ธันวาคม). รูปแบบกิจกรรมการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ในโรงเรียนกองทุนการศึกษา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า, 4(3), 39 - 46.

ปิยณัฐ กุสุมาลย์. (2560). แนวทางการพัฒนาครูโดยใช้แนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในการจัดการเรียนรู้ สำหรับสถานศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พัชรี หอมรื่น, และยุภาดี ปณะราช. (2559). แนวทางการบริหารเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มโรงเรียนลานกระบือ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.

มติชน. (2559, 4 พฤศจิกายน). 155 โรงเรียน ใต้ร่วมกองทุนการศึกษา ด้วยน้ำพระราชหฤทัยในหลวง ร.9. สืบค้น พฤษภาคม 6, 2564, จาก https://www.matichon.co.th/education/news_347693.

มยุรี นารั้ง, และเชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์. (2565, กันยายน). รูปแบบการบริหารโรงเรียนในโครงการกองทุนการศึกษาสู่ความสำเร็จของโรงเรียนห้วยขาแข้งวิทยาคม. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 9(9), 165 - 183.

สาธิต ครุฑจันทร์. (2559). แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในการบริหารงานโรงเรียนโครงการกองทุนการศึกษาในจังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

สุรดา ไชยสงคราม, ปิยพงษ์ สุเมตติกุล, และพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. (2556, ตุลาคม - ธันวาคม). กลยุทธ์การบริหารเพื่อพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนประถมศึกษาในโรงเรียนสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 40(4), 162 - 179.

สุริยา สมฤทธิ์. (2565, ตุลาคม). การพัฒนากลยุทธ์การบริหารจัดการศูนย์การเรียนรู้โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นฐานสู่ทักษะชีวิตโรงเรียนเพียงหลวง 16 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 7(10), 38 - 58.

สุวรีย์ ศิริโภคาภิรมย์. (2546). การวิจัยทางการศึกษา. ลพบุรี: สถาบันราชภัฏเทพสตรี.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2. (2565). แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2. ลพบุรี: ควิกก็อปปี้.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

_____. (2562). แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนในโครงการกองทุนการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

_____. (2563). โครงการอบรมการนำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาสู่การปฏิบัติจริง โรงเรียนกลุ่มพิเศษ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

อภิวรรณ ยอดมงคล. (2562). การพัฒนากลยุทธ์เพื่อพัฒนาโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

Cronbach, Lee J. (1971). Essentials of Psychological Testing. New York: Harper & Row.

Likert, R. (1967). The Human Organization: Its Management and Value. New York: McGraw-Hill.