Developing Academic Achievement in the Course of History on Thon Buri Establishment by using Game-based Learning for Mathayom 2 Room 3 Students, Nongsaeng Wittaya School
Main Article Content
Abstract
This study aimed to develop a learning activity plan based on game-based learning about the establishment of Thonburi as the capital, to examine students' academic achievement after using the game-based learning technique, and to assess students' satisfaction with the game-based learning technique. The sample group consisted of 39 eight graders, section 3 (Matthayom 2/3) from Nong Saeng Wittaya School, in the first semester of the 2023 academic year, selected through cluster random sampling. The research instruments included 12 learning activity plans, a 30-item multiple-choice academic achievement test, and a 20-item satisfaction scale. The statistical methods used in the study were mean, standard deviation, and dependent t-test. The results of the study were as follows: 1. A total of 12 learning activity plans were developed, 2. A comparison of academic achievement revealed that students' post-test achievement ( = 18.40, S.D. = 1.44) was significantly higher than their pre-test achievement ( = 12.50, S.D. = 2.14) at the 0.05 level, and 3. Students' satisfaction with the game-based learning technique was high ( = 4.50, S.D. = 1.55).
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่าหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนาญาตจากวารสารวิชาการ ฯ ก่อนเท่านั้น
References
กวิฎ ตั้งจรัสวงศ์. (2565). ความหมายและความสำคัญของประวัติศาสตร์. สืบค้น มกราคม 27, 2553, จาก https://shorturl.asia/xbvrn
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางสถานศึกษา พ.ศ. 2551 (ฉบับปรับปรุงปี 2560). กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
กฤดาภัทร สีหารี. (2561, เมษายน - มิถุนายน). มุมมองวิศวกรรมซอฟต์แวร์ต่อการเรียนรู้ด้วยเกมดิจิทัลสำหรับการศึกษาประเทศไทย 4.0. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 28(2), 477 – 488.
ขวัญวรา วงค์คำ, จารุณี ทิพยมณฑล, และชรินทร์ มั่งคั่ง. (2565, มีนาคม - เมษายน). การจัดการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้เกมคุณธรรมเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดีของนักเรียนชั้นประถมศึกษา. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์, (10)2, 737 - 749.
จิรวัฒน์ สุขไสย, ศิรประภา พฤทธิกุล, และปริญญา ทองสอน. (2564, กรกฎาคม - กันยายน). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนวิชาพระพุทธศาสนา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้เกมตามแนวการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 23(3), 92 - 102.
ชนาพร ยอดทองเลิศ, ชรินทร์ มั่งคั่ง, และจารุณี มณีกุล. (2562, กรกฎาคม - กันยายน). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมการละเล่นชาติพันธุ์ เพื่อพัฒนาความคิดรวบยอดด้านประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของนักเรียน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 21(3), 48 - 60.
ณัฐญา นาคะสันต์, และชวณัฐ นาคะสันต์. (2559, กันยายน - ธันวาคม). เกม: นวัตกรรมเพื่อการศึกษาเชิงสร้างสรรค์. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก, 34(3), 159 - 182.
ดวงทิพย์ ผโลปกรณ. (2565, มกราคม - มิถุนายน). ผลการพัฒนาแรงจูงใจในการเรียนวิชาประวัติศาสตร์โดยใช้เกมการ์ดระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กรณีศึกษาการใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม). วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด, (11)1, 230 - 244.
เดือนเพ็ญ สังข์งาม (2562). การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ TGT เรื่อง วัฒนธรรมของไทยและวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชียของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. สืบค้น พฤศจิกายน 15, 2566, จาก https://shorturl.asia/gYq2B.
ทิศนา แขมมณี. (2560). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 21). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
บุญชม ศรีสะอาด, และคณะ (2555). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ปานวาด สุวรรณคาม, สุพจน์ เกิดสุวรรณ์, และทองปาน บุญกุศล. (2564, มกราคม - มิถุนายน). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ สาระภูมิศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7Es) ร่วมกับการใช้เกม. วารสารการวัดผลการศึกษา, 38(103), 45 - 53.
พรชุลี ลังกา. (2564, มกราคม - มิถุนายน). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบเกมเป็นฐานที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษารายวิชาการศึกษาปฐมวัย. วารสารวิจัยทางการศึกษา, 6(1), 112 - 123.
ยุพิน พันธุ์ดิษฐ์, นิลมณี พิทักษ์, และสิทธิพล อาจอินทร์. (2554, มกราคม). สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดขอนแก่น. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 5(1), 110 – 116.
วิไลวรรณ วิไลรัตน์. (2565, กันยายน - ธันวาคม). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมออนไลน์ภูมิศาสตร์ Seterra ร่วมกับ e-Learning ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทัศนคติของนักศึกษา วิชาภูมิศาสตร์ภูมิภาคโลก. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 17(3), 109 - 117.
ล้วน สายยศ, และอังคณา สายยศ. (2553). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ศศิพัชร จำปา. (2559). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยใช้แหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์เพื่อส่งเสริมกระบวนการคิดทางประวัติศาสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
อนุศร หงส์ขุนทด. (2566). แนวทางการออกแบบการสอนโดยใช้เกมเป็นฐาน. สืบค้น พฤศจิกายน 25, 2566, จาก https://shorturl.asia/5qesT.
Cronbach, L. J. (1990). Essentials of Psychological Testing (5th ed.). New York: Harper Collins Publishers.
Homer, B., D., & Kinzer, C. K. (2561). Applying Game Mechanics and Student-generated Questions to An Online Puzzle-based Game Learning System to Promote Algorithmic Thinking Skills. Chih-Chao Hsu, 121(5), 10 - 12.
Melo, A., J., Hernandez-Maestro, R., M., & Munoz-Gallego, P., A. (2017, February). Service Quality Perception, Online Visibility, and Business Performance in Rural Lodging Establishments. Journal of Travel Research, 56(2), 250 - 262.
Likert, R. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale. In Reading in Fishbeic, M (Ed.), Attitude Theory and Measurement (pp. 90-95). New York: Wiley & Son.
Kuder, G., F., & Richardson, M., W. (1937, September). The Theory of The Estimation of Test Reliability. Psychometrika, 2(3), 151 - 160.