Establishing Criteria for Laboratory Safety Potential Assessment in Thailand

Main Article Content

ฉัตรชัย วิริยะไกรกุล
ขวัญนภัส สรโชติ
จุฑามาศ ทรัพย์ประดิษฐ์

Abstract

This article presents the results from a research project on establishing the criteria for laboratory safety potential assessment in Thailand. The objectives of the research are to develop the criteria for laboratory safety potential assessment and the criteria for the laboratory safety award and logo, and to disseminate these criteria to stakeholders and the general public. Conducted as research and development (R&D), the research is a sequel to an earlier research project entitled “Enhancement of Safety Practices in Research Laboratory in Thailand, ESPReL” and other projects under the policies for enhancing safety in chemical laboratories by the National Research Council of Thailand (NRCT). In order to set a frame for constructing the criteria, the relevant information and issues from all NRCT’s projects and research related to the safety standards and guidelines for laboratories in Thailand are gathered and analyzed. The achievement of the project is an assessment tool comprising two sets of Criteria for Laboratory Safety Potential Assessment and for Laboratory Safety Award and Logo including the manual. The tool was passed through the public involvement process by engaging all stakeholders including academic institutes, as well as the public and private organizations through a public hearing process with 100 participants and public training with 66 participants which provided a pre-test/ post-test for all participants, in order to increase awareness and understanding of the tool. Recommendations from the study are divided into three parts: 1) recommendations for implementing the project with the tool by NRCT associated with NRCT’s staffs, tools, rewards and incentives; 2) recommendations for the laboratories that will attend the process for laboratory safety potential assessment and acquire recognition for the laboratory safety award and logo; and 3) other recommendations related to the criteria.

Article Details

Section
Articles

References

ฉัตรชัย วิริยะไกรกุล. รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการ พัฒนาตัวอย่างห้องปฏิบัติการวิจัยปลอดภัย. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย, 2557.

ฉัตรชัย วิริยะไกรกุล. ห้องปฏิบัติการปลอดภัยต้นแบบ – ตั้งต้นได้อย่างไร. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัย แห่งชาติ, 2561.

ฉัตรชัย วิริยะไกรกุลและวรภัทร์ อิงคโรจน์ฤทธิ์. รายงานการสำรวจและประเมินลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการโครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย ระยะที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย, 2556.

“พระราชบัญญัติการมาตรฐานแห่งชาติ พ.ศ. 2551.” ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 125 ตอนที่ 42 ก. 2551, 4 มีนาคม).

“พระราชบัญญัติการมาตรฐานแห่งชาติ พ.ศ. 2551.” ประกาศคณะกรรมการรับรองหน่วยรับรองและหน่วยตรวจ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2553), เรื่อง กำหนดอัตราค่าบริการสำหรับการตรวจสอบหรือการประเมินผลให้แก่หน่วยรับรองและหน่วยตรวจ.” ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 127 ตอนพิเศษ 123 ง (2553, 21 ตุลาคม).

“พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511.” ประกาศกฎกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4699 (พ.ศ. 2558) เรื่องกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการด้านความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี เล่ม 1: ข้อกำหนด มาตรฐานเลขที่ มอก. 2677 เล่ม 1 – 2558.” ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 132 ตอนพิเศษ 229 ง (2558, 23 กันยายน).

“พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511.” ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4700 (พ.ศ. 2558) เรื่องกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการด้านความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี เล่ม 2: ข้อแนะนำทั่วไปเกี่ยวกับหลักการ ระบบและเทคโนโลยีการปฏิบัติ มาตรฐานเลขที่ มอก. 2677 เล่ม 2 – 2558.” ราชกิจจานุเษกษา. เล่ม 132 ตอนพิเศษ 229 ง (2558, 23 กันยายน).

“ระเบียบกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ว่าด้วยอัตราค่าบำรุงการตรวจวิเคราะห์และการให้บริการ พ.ศ. 2558.” ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 132 ตอนพิเศษ 305 ง (2558, 23 พฤศจิกายน).

วราพรรณ ด่านอุตราและคณะ. คู่มือการประเมินความปลอดภัย ในห้องปฏิบัติการ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย, 2555.

วราพรรณ ด่านอุตราและคณะ. คู่มือการประเมินความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ. ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย, 2557.

วราพรรณ ด่านอุตราและคณะ. คู่มือการประเมินความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ. ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย, 2558. สืบค้น 6 พฤศจิกายน 2558.
http://esprel.labsafety.nrct.go.th/files/ESPReL-Book2.pdf.

วราพรรณ ด่านอุตราและคณะ. แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย, 2555.

วราพรรณ ด่านอุตราและคณะ. รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการยกระดับมาตร-ฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย, 2555.

วราพรรณ ด่านอุตราและคณะ. รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย ระยะที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย, 2556.

วราพรรณ ด่านอุตราและคณะ. รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย ระยะที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย และสถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557.

วราพรรณ ด่านอุตราและสุชาตา ชินะจิตร. ห้องปฏิบัติการปลอดภัย: จากนโยบายสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย, 2559.

วรรณี พฤฒิถาวรและคณะ. รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการส่งเสริมการยกระดับความปลอดภัยห้องปฏิบัติการในการสนับสนุนการดำเนินงานวิจัย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559.

สุชาตา ชินะจิตร. ความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ: พัฒนาได้อย่างไร ใช้จริยธรรมสร้างสู่ความตระหนักรู้สู่วัฒนธรรม บทสรุปผลการดำเนินงานโครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย, 2555.

สุชาตา ชินะจิตร. บนเส้นทางระบบมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ บทสรุปผลการดำเนินงานโครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย, 2556.

สุชาตา ชินะจิตร. ห้องปฏิบัติการปลอดภัย: เรื่องของใคร บทสรุปผลการดำเนินงานโครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสารและของเสียอันตราย และสถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557.