การสร้างชุมชนข้ามถิ่นและเครือข่ายทางสังคมของมุสลิมในจังหวัดหนองคาย : The Construction of Translocal Community and Social Networks of Muslims in Nong Khai Province
Keywords:
The Construction of Translocal Community, Translocal Community, Muslim Community, Nong KhaiAbstract
This article aims to explore the construction of Translocal Muslim community in Nong Khai, a province in Northeast Thailand. The studied phenomenon is explained through Appadurai’s translocality concept, which reflects on the connection between a place of origin of migrants and their destination. Based on qualitative research, the data used in this article was drawn from literature reviews and fieldwork, of which the latter employed in-depth interviews as well as participant and non-participant observations as main data collection techniques. According to the research, Nong Khai’s multicultural context has allowed for migrations and settlements of Muslims from different areas, who consequently constructed an Islamic-based translocal community. In addition, mosques were built to serve as places for performing religious ceremonies and for organizing Islamic traditional activities. The aforementioned constructed translocal community and religious spaces clearly reflect the mobility of Islamic local traditions from a place of origin of these Muslims to the new place—Nong Khai. Interestingly, members of this translocal community live their lives not only by following Islamic culture from the place of origin, but also by adopting cultural practices in Nong Khai. The integration between cultural practices from the place of origin and that in the current settlement have led to sense of neighbors and local of which the Muslims shared with the local people. At the same time, the sense of neighbors has been expanded in a close connection with Islamic organizations in both Thailand and beyond.
References
1) คณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (2542). วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดหนองคาย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
2) จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง. (2543). ชุมชนมุสลิมในเมืองตลาดชายแดนไทย-พม่า: สัมพันธภาพระหว่างพหุสังคม วิถีชีวิตทางเศรษฐกิจ และการธำรงชาติพันธุ์. วิทยานิพนธ์สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
3) จีรศักดิ์ โสะสัน. (2550). กระบวนการสร้างชุมชนมุสลิมในพหุสังคมอีสาน. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาการพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
4) ณัฏฐ์ชวัล โภคาพาณิชวงษ์. (2556). การเชื่อม (ข้าม) ถิ่นที่: ปฏิสัมพันธ์ของผู้คนบนเมืองชายแดนกับการต่อรองความหมายผ่านพื้นที่/ชุมชนทางศาสนาของผู้อพยพข้ามพรมแดนชาวพม่าในจังหวัดระนอง. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
5) ประทับจิต นีละไพจิตร. (2557). “พื้นที่การเมืองแบบอิสลามในโลกสมัยใหม่”. ใน สุชาติ เศรษฐมาลินี และวิสุทธิ์ บิลล่าเต๊ะ (บ.ก.), คนหนุ่มสาวมุสลิมกับโลกสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: คณะทำงานวาระทางสังคม สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
6) ปานทิพย์ เปลี่ยนโมฬี. (2559). เขตเศรษฐกิจพิเศษ 10 จังหวัดในประเทศไทย. วารสารอุตสาหกรรมสาร กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, 58, 5-13.
7) แผนงานสร้างเสริมสุขภาวะมุสลิมไทย. (2547). สำมะโนประชากรมุสลิม พ.ศ. 2543: ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรุงเทพฯ: แผนงานสร้างเสริมสุขภาวะมุสลิมไทย คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
8) แผนงานสร้างเสริมสุขภาวะมุสลิมไทย. (2557). สำมะโนประชากรมุสลิม พ.ศ. 2553: ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรุงเทพฯ: แผนงานสร้างเสริมสุขภาวะมุสลิมไทย คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
9) พฤกษ์ เถาถวิล. (2555). “อีสานใหม่” ความเปลี่ยนแปลงจากการพัฒนาในรอบศตวรรษ (ร่าง). บทความนำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ อุบลวัฒนธรรมครั้งที่ 2 วันที่ 27-29 มกราคม 2555 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
10) ฟารีดา ขจัดมาร. (2557). “พลวัตการศึกษาอิสลามในอินโดนีเซีย”. ใน สุชาติ เศรษฐมาลินี และวิสุทธิ์ บิลล่าเต๊ะ (บ.ก.), คนหนุ่มสาวมุสลิมกับโลกสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: คณะทำงานวาระทางสังคม สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
11) มูลนิธิเพื่อการศึกษาและพัฒนามุสลิมอีสาน. (2545). มุสลิมอีสานปริทรรศน์: ฉบับต้อนรับ “วันแด่มุสลิมอีสาน ฮ.ศ. 1422” และเปิดมัสยิดกลางขอนแก่น. ขอนแก่น: ขอนแก่นการพิมพ์.
12) ยศ สันตสมบัติ และคณะ. (2548). อำนาจ พื้นที่ และอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์: การเมืองวัฒนธรรมของรัฐชาติในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
13) รัตตินา สาและ. (2544). การปฏิสัมพันธ์ระหว่างต่างศาสนิกที่ปรากฏในจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
14) วิชาญ ชูช่วย. (2533). สังคมชาวมุสลิมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกไทยคดีศึกษา (เน้นสังคมศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.
15) วิลาสินี โสภาพล. (2559). ชุมชนข้ามถิ่น: การข้ามท้องถิ่นและการก่อร่างทางอัตลักษณ์ของแรงงานข้ามชาติสัญชาติพม่าในจังหวัดขอนแก่น ภายใต้บริบทของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
16) สมัคร กอเซ็ม. (2556). การเมืองวัฒนธรรมของการเผยแพร่ศาสนาอิสลามในกลุ่มเยาวชนชาติพันธุ์ในภาคเหนือของไทย: กรณีศึกษาขบวนการดะวะห์ในจังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
17) สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมป์. (2554). สุเหร่ามุสลิม: ภาพสะท้อนบ้านแห่งหัวใจ “ไทย”. บันทึกเสวนาวิชาการวันที่ 23 พฤศจิกายน 2554 ณ สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์.
18) สุชาติ เศรษฐมาลินี. (2550). การปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์ของชาวมุสลิมยูนนานในภาคเหนือของประเทศไทย. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 19(2), 23-58.
19) เสาวนีย์ จิตต์หมวด. (2522). วัฒนธรรมอิสลาม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เจริญผล.
20) อุราลักษณ์ สิถิรบุตร. (2526). มณฑลอีสานและความสำคัญในทางประวัติศาสตร์. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
การสัมภาษณ์
1) เซาดะห์ เที่ยงพูลวงศ์. วิถีชีวิตโดยทั่วไปของมุสลิมในจังหวัดหนองคาย [สัมภาษณ์]. เจ้าของร้านอาหารฮาลาลในอำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย; 20 กันยายน 2560.
2) ทองคำ ต่วนเขียว. การสร้างมัสยิดดารุลมุตตะกีน [สัมภาษณ์]. คณะกรรมการประจำมัสยิดดารุลมุตตะกีน; 2 กันยายน 2560.
3) แสนทวี พลีนุช. วิถีชีวิตโดยทั่วไปของมุสลิมในจังหวัดหนองคาย [สัมภาษณ์]. อิหม่ามประจำมัสยิดดารุลมุตตะกีน; 20 กันยายน 2560.
4) อับดุลการีม อิสมาแอล. การสร้างมัสยิดดารุลมุตตะกีน [สัมภาษณ์]. คอเต็บประจำมัสยิดดารุลมุตตะกีน; 1 กันยายน 2560.