ความคิดเห็นของประชาชนและบุคลากรท้องถิ่นในเรื่องการควบรวมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอำเภอขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสีมา

Citizens and Officials’ Opinion on Amalgamation of Local Administrative Organizations in Kham Sakaesaeng District, NakhonRatchasima Province

Authors

  • ปนิดา แสนหล้า องค์การบริหารส่วนตำบลหนองหัวฟาน
  • กฤชวรรธน์ โล่ห์วัชรินทร์

Keywords:

municipal amalgamation, public service, local politics

Abstract

Municipal amalgamation is an approach promoted by the national government to enhance efficiency of service provision at the local level. The current study aimed to examine local citizens and officials’ opinion on possible amalgamations of local administrative organizations (LAOs) in Nong Hua Fan and Kham Sakaesaeng Subdistricts, Kham Sakaesaeng District, Nakhon Ratchasima Province, and to examine effects that might happen after such amalgamations. A survey design was employed with two target groups: first, a group of 32 local officials from 4 LAOs; and second, a sample of 392 local citizens selected via a systematic random sampling technique.

Findings show that most of local citizens and officials agree to a potential amalgamation of LAOs in their respective subdistrict due to the following reasons: there would be increases in personnel and budgetary resources; local officials would have a wider range of experiences; local problems and needs would be addressed more efficiently; there would be more inclusive policy formulation; there would be a substantial reduction in expenses for elected officials; and there would be a greater opportunity to elect more qualified local politicians because the competition is more intense. Regarding potential effects of the amalgamation, local citizens and officials are worried that that some communities might not be as well represented because of the reduced number of council members under the new structure.

References

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น: ข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. ค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2560, สืบค้นจาก http://www.dla.go.th/index.jsp
กฤชวรรธน์ โล่วัชรินทร์. (2560). บทเรียนจากการควบรวมรัฐบาลท้องถิ่นในต่างประเทศ. วารสารรัฐประศาสนศาสตร์, 15(2), 64-70
โกวิทย์ พวงงาม. (2550). การปกครองท้องถิ่นไทยหลักการและมิติใหม่ในอนาคต (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
โกวิทย์ พวงงาม. (2555). การปกครองท้องถิ่นว่าด้วยทฤษฎี แนวคิด และหลักการ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ส.เอเซียเพรส.
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์, พิซิต รัชตพิบุลภพ, ดารุณี พุ่มแก้ว, พิซิตชัย กิ่งแก้ว. (2559). การคลังท้องถิ่นการขยายฐานรายได้และลดความเหลื่อมล้ำ. กรุงเทพฯ: พี.เอ. ลีฟวิ่ง.
ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์, และกอบกุล รายะนาคร. (2552). การขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อการจัดบริการสาธารณะที่ดี. กรุงเทพฯ: ทีดิวพี.
ธเนศวร์ เจริญเมือง. (2540). 100 ปี ของการปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. 2440 – 2540. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. (2544). การปกครองท้องถิ่นฝรั่งเศส. กรุงเทพฯ: สุขุมและบุตร.
บุษกร ปลีคง. (2558). บทบาทของสภาองค์กรชุมชนกับการพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่น กรณีศึกษา สภาองค์กรชุมชนในจังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ์หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต การเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พบสุข ช่ำชอง. (2560). เหตุผลของการควบรวมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบริบทสากล. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 13(2), 161-185
ฟ้าใส เสนาธรรม. (2551). ผลกระทบของการยุบรวมองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นเทศบาลตำบล: กรณีศึกษาตำบลบ้านปิน อำเภอลอง จังหวัดแพร่. การศึกษาอิสระหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์การเมือง) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2546). เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารท้องถิ่น Local administration. กรุงเทพฯ: น่ำกังการพิมพ์.
ศักดา สบาย. (2553) การพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการสาธารณะของเทศบาล: ศึกษาเฉพาะกรณีของเทศบาลตำบลศาลเจ้าไก่ต่อ อำเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค์. การศึกษาอิสระหลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ศักดา หาญยุทธ. (2554). รูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เหมาะสมกับบริบทประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 2(2), 13-22.
สถาบันพระปกเกล้า: การบริหาราชการส่วนท้องถิ่น. ค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2560, สืบค้นจาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=หน้าหลัก
สถาบันพระปกเกล้า. การปกครองท้องถิ่น. ค้นเมื่อ 25 มกราคม 2561 , สืบค้นจาก http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=การปกครองส่วนท้องถิ่น
สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ: รายงานของคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านการปกครองท้องถิ่น สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ เรื่อง การปฏิรูปแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2559. ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2560, สืบค้นจาก http://library2.parliament.go.th/giventake/content_nrsa2558/d080159-03.
สุทธิพงษ์ ขุนฤทธิ์. (2551). การยุบรวมองค์การบริหารส่วนตำบลระโนดเข้ากับเทศบาลตำบลระโนด เพื่อยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองระโนด. การศึกษาอิสระหลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
เอกพงศ์ กระแสอินทร์. (2554). การปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการสาธารณะขั้นพื้นฐานด้านงานส่งเสริมคุณภาพชีวิตขององค์การบริหารส่วนตำบลชีวึกอำเภอขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสีมา. การศึกษาอิสระหลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (2545). ประชาธิปไตยท้องถิ่น: สาระสำคัญของการเมือง และการปกครองส่วนท้องถิ่น. นนทบุรี: มิติใหม่.
The World Bank (2012). การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการสาธารณะของไทย. รายงานการบริหารการเงินการคลังสาธารณะของประเทศไทย. (ม.ป.ท.: ม.ป.พ.).

Downloads

Published

2020-04-29

Issue

Section

บทความวิจัย