แนวทางการพัฒนากระบวนการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนอ่าวปากบารา อำเภอละงู จังหวัดสตูล

The Guideline of Process Development of Community-based Tourism in Pak Bara Bay Community in La-ngu District, Satun Province

Authors

  • ประจวบ ทองศรี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
  • รุวัยดา อาหมัน

Keywords:

The Community-Based Tourism, the Process of Tourism Management

Abstract

Abstract

          This research is a qualitative research department with the concept of studying environment and community-based tourism management at Pak Bara Bay, La-ngu District, Satun Province and Guidelines for Community-Based Tourism Management of Pak Bara Bay, La-ngu District, Satun Province and target groups. There were 29 people used in this study, including those involved in data management, in-depth interview method and group discussion (Focus group discussion). The Pak Bara bay community, La-ngu district, Satun province, found that 1) planning, scheduling and organizing tourism by Pak Bara bay community Pak Bara bay community governing regulations, service pricing, distribution channels, marketing and setting standards for Pak Bara community-based tourism management. Planned training on the side of the management of the travelling group. By the Pak Bara community: safety, marketing, management, management, income distribution management, 3) audit of the performance audit of the bay Pak community tourism. Bara consists of a price check and a security audit. 4) The determination of the flaws from the results of the Pak Bara community tourism audit was based on the results of the audit. Planned and improved. In addition, the guidelines for the development of tourism management process by Pak Bara community, La-ngu District, Satun Province were found in 6 formats as follows: 1) Knowledge development about tourism management 2) Tourism personnel development 3) Tourism management Development of tourism activities; 4) preparation of survey data and assessing the satisfaction of tourists; 5) development of public relations and 6) development of tourism services.

 

Keywords: The Community-Based, Tourism, The Process of Tourism Management

References

กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา.(2549). คู่มือการประเมินมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม.กรุงเทพฯ : สำนักงานพัฒนาการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน. (2556). โครงการศึกษาและจัดทำแผนแม่บทการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน. สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2561,จาก http://www.osmsouth-w.moi.go.th/file-data/933207.pdf
กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน. (2556).ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน. สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2561,จาก www.osmsouth-w.moi.go.th/file-data/255170.pdf
กรมทรัพยากรธรณี. (2560). Amazing Fossils in Satun Geopark. กรุงเทพฯ. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ. (2559). เกณฑ์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การทหารผ่านศึก.
คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาการท่องเที่ยว ฉบับที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การทหารผ่านศึก.
ชุมพูนุท โมราชาติ. (2551). การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน บ้านซะซอม หมู่ที่ 7 ตำบลนาโพธิ์กลางอำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี.อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี.
ญานีกรณ์ ธรรมโชติ (2549). แนวทางการจัดการท่องเที่ยวเกษตรเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล).
เทิดชาย ช่วยบำรุง. (2552). บทบาทขององค์กรปกครองท้องถิ่นกับการพัฒนาการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ: คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
บรรจง จันทมาศ. (2546). การบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี.
บุญยสฤษฏ์ อเนกสุข. (2558). ยลเยี่ยมเยือนเหย้าแนวคิดและทฤษฎีว่าด้วยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม.พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร.
รำไพพรรณ แก้วสุริยะ. (2544). ท่องเที่ยวยั่งยืน (ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์) ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. กรุงเทพฯ : อนุสาร อ.ส.ท.
วีระศักดิ์ กราปัญจะ (2554). รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่ป่าชุมชนบ้านอ่าวท่าเลน – บ้านท่าพรุ ตำบลเขาทอง อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช).
วรวลัญช์ สัจจาภิรัตน์ และ กฤช จรินโท. (2556). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ: กรณีศึกษาชุมชนทุ่งเพล ตำบลฉมัน อำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี”. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา).
วรรณวิมล ภู่นาค. (2557). ศักยภาพชุมชนในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนกรณีศึกษาตลาดน้ำอัมพวา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล).
ศิริจรรยา ประพฤติกิจ. (2553). การประเมินศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวในอำเภอเมือง จังหวัดตราด เพื่อจัดทำเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).
ศุภชัย อาชีวระงับโรค. (2546). Practical PDCA แก้ปัญหาและปรับปรุงงานเพื่อความสำเร็จ. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด ซีโน ดีไซด์.
สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน. (2557). การท่องเที่ยวโดยชุมชน. สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2560, จาก http://www.cbt-i.org/2012/travel.php.
สาลินี ทิพย์เพ็ง. (2557). การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน กรณีศึกษา ชุมชนวิถีพุทธคลองแดน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย).
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และคณะวิทยาศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2554). คู่มือสื่อการสอนวิชาโลกดาราศาสตร์และอวกาศ. สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2560, จาก http://www.phukhieo.ac.th/obec-media/2554/manual
สำนักงานสถิติจังหวัดสตูล. (2558). รายงานวิเคราะห์สถานการณ์จังหวัดสตูล. สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2560,จาก http://osthailand.nic.go.th/masterplan_area/userfiles/file/.../.pdf
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช. (2559). กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช พ.ศ. 2560–2564. สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2560,จาก www.dnp.go.th/dnpresearch1/Download/.../ยุทธศาสตร์งานวิจัย2560.pdf
อนุวัฒน์ ทรัพย์พืชผล. (2546). โมเดลการจัดการแห่งศตวรรษที่ 21. แปลจาก Key management Model.(สตีเวน เทน เฮฟ และคณะ). กรุงเทพฯ : เออาร์ บิซิเนส เพรส.
อิทธิพล โกมิล. (2553). รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ : กรณีศึกษาบ้านวังน้ำมอก อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย.กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติกระทรวงวัฒนธรรม.
อรนภา ทัศนัยนา. (2559). รูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและกีฬาสำหรับผู้สูงอายุ โดยมหาวิทยาลัย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา)
Etsuko Okazaki. (2008). A Community-Based Tourism Model: Its Conception and Use. JOURNAL OF SUSTAINABLE TOURISM, 16(5), 511-529.

Downloads

Published

2021-04-30

How to Cite

ทองศรี ป., & อาหมัน ร. . (2021). แนวทางการพัฒนากระบวนการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนอ่าวปากบารา อำเภอละงู จังหวัดสตูล: The Guideline of Process Development of Community-based Tourism in Pak Bara Bay Community in La-ngu District, Satun Province. Journal of Humanities and Social Sciences (HUSOKKU), 38(1), 107–150. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HUSO/article/view/240181

Issue

Section

บทความวิจัย