คำยืมภาษาอังกฤษในเพลงอีสานสมัยใหม่กับบริบทวัฒนธรรมสังคมอีสาน

English Loanwords in Isan Modern Songs and Isan Social Contexts

Authors

  • วัชระ ลานเจริญ Khon Kaen University
  • รัตนา จันทร์เทาว์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Keywords:

Modern Isan Songs, Meaning, Sociocultural context

Abstract

Abstract

           English has played a significant role in other (many) languages including the Isan language. The article objectives are to analyze the meaning and the relationship between English and the current Isan sociocultural context. The samples are from modern Isan songs on YouTube published during 2020 – 2022 from 252 songs. The linguistic concepts of the analysis are language borrowing and code-mixing. The findings present that the English language embedded in songs identifies 15 meaning types which are 1) a person 2) Technology 3) Food and Beverages 4) Entertainment 5) Economics and Occupations 6) Scientific and Medical 7) Measurement; sequence, numbers, counting numbers 8) Objects 9) Places and Environments 10) Transportation 11) Sports 12) Times and Festivals 13) Education 14) Animals 15) Society, religions and beliefs.

           Following the analysis of meaning within modern Isan Songs, Isan social phenomenon in the present which has been adopting innovation from the outside world to use in Isan’s social context is illustrated. Isan society absorbed innovation, technology, economics, education, medical knowledge, science, agriculture, religious beliefs, and other western cultural influences involved with life. These have been adapted within Isan society through modern Isan songs.

References

เอกสารอ้างอิง

จินตนา ดำรงค์เลิศ. (2533). วรรณกรรมเพลงลูกทุ่งขนบธรรมเนียมประเพณี ค่านิยม และการดำเนินชีวิตของชาวชนบทไทยที่ปรากฏในเพลงลูกทุ่งไทย ตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สองจนถึงปัจจุบัน. สถาบันไทยคดีศึกษา, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จุฬารัตน์ ชัยพิทักษ์ และสิริวรรณ นันทจันทูล (2563) ภาพสะท้อนสังคมอีสานในบทเพลงลูกทุ่งไทย. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. 15(1). 152-175.

นายสัตวแพทย์วิชิิต กองคำ และยุพเยาว์ โตคีรี. (2548). การจัดการคอกแมวน้ำและเพนกวินสวนสัตว์นครราชสีมา. รายงานวิจัยองค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทยร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

บุญยงค์ เกศเทศ. (2536). แลลอดวรรณกรรมไทย. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ภาสพงศ ผิวพอใช. (2547). เพลงลูกทุ่งอีสานกับลักษณะการใช้ภาษาและการสะท้อนวัฒนธรรมท้องถิ่น : ศึกษาในผลงานเพลงของศิริพร อำไพพงษ์. งานวิจัยทุนอุดหนุนสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม.

รัฐวรรณ จุฑาพานิช. (2547). เพลงลูกทุ่งที่ได้รับความนิยมระหว่างปี พ.ศ. 2544-2545 : การศึกษาเนื้อหา ภาษา และภาพสะท้อนสังคม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

วิจินตน์ ภาณุพงศ์ และคณะ. บรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม 3 ชนิดของคำ วลี ประโยคและสัมพันธสาร. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของ สกสค.

วิไลศักดิ์ กิ่งคำ. (2556). ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สิริชญา คอนกรีต. (2556). เพลงลูกทุ่ง : อัตลักษณ์และการเมืองเชิงวัฒนธรรมของคนอีสานพลัดถิ่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร.

สิรินาถ ฉัตรทอง. (2549). เพลงลูกทุ่ง : ภาพสะท้อนค่านิยมในสังคมไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาวารสารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สุดาจันทร์ ไชยโวหาร. (2542). การสื่อความทางเพศจากวรรณกรรมเพลงลูกทุ่งของรักร้องหญิง ในช่วงปี พ.ศ.2541. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2556). ภาษาศาสตร์สังคม. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Downloads

Published

2023-08-29

How to Cite

ลานเจริญ ว. . ., & จันทร์เทาว์ ร. (2023). คำยืมภาษาอังกฤษในเพลงอีสานสมัยใหม่กับบริบทวัฒนธรรมสังคมอีสาน: English Loanwords in Isan Modern Songs and Isan Social Contexts. Journal of Humanities and Social Sciences (HUSOKKU), 40(2), 28–62. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HUSO/article/view/263842

Issue

Section

บทความวิจัย