สถานภาพและความต้องการความรู้ด้านภาษาต่างประเทศของนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
The States and Needs about Foreign Language Knowledge of Vocational College Students of Eastern Economic Corridor Zone
คำสำคัญ:
สถานภาพ, ความต้องการ, ความรู้ด้านภาษาต่างประเทศ, นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษา, เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกบทคัดย่อ
Abstract
The purpose of this research was to study the states and needs about foreign language knowledge of vocational college students in the Eastern Economic Corridor Zone. This was qualitative research using the focus group discussion method. The participants consisted of 50 vocational college students studying for a vocational certificate level or a higher vocational certificate level of vocational colleges in the Eastern Economic Corridor Zone. Fifty participants from 7 vocational colleges were purposive sampling. The focus group discussion guide was a research tool.
The results showed that most students assessed their own listening, speaking, reading, and writing skills about foreign languages, especially the English language, at low to moderate levels. Their reading and writing skills were better than their listening and speaking skills because lacking direct experience in having a conversation with foreigners. When inquiring about their needs about foreign language knowledge, most students were aware of the importance of having foreign language skills and would have greater benefits in their job opportunities such as gaining high positions or high compensation. The students wanted to be able to use foreign languages, particularly English language, for communicating in their daily life more than in business communication context only. The students preferred native- speaking teachers via edutainment.
Keywords: states, needs, foreign language knowledge, vocational college students, Eastern Economic Corridor Zone
References
กาญจนา จันทร์พราหมณ์. (2563). ความต้องการในการใช้ภาษาอังกฤษของพนักงานระดับปฏิบัติการในนิคมอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรี. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(8), 425-436. เข้าได้จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JSBA/article/download/244851/166438/
ฐมณฑ์ปวีร์ เพชรรัตน์. (2555). การสำรวจความต้องการในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อประเมินตำราเรียนในการฝึกอบรมภาษาอังกฤษของพนักงานสายปิโตรเลียมนอกชายฝั่ง. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ณัฐพล บัวเปลี่ยนสี (2561) รูปแบบการพัฒนาบุคลากรในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกเพื่อรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมายในอนาคต วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(1), 303-315. เข้าถึงได้จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/svittj/article/view/214882/149578
ทัตทริยา เรือนคำ และยุทธศักดิ์ ชื่นใจชน. (2559). การสำรวจการรับรู้การเรียนภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะของวิทยาลัยพณิชยการบึงพระพิษณุโลก. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 5(2), 77-94.
ธัญลักษณ์ วีระสมบัติ. (2561). การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับปริมาณและคุณภาพแรงงานไทยในอุตสาหกรรมการผลิตไทย. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 26(2), 1-40. เข้าถึงได้จาก http://journal.innovtalk.com/upload_files/journal/journal_id_34_38.pdf
พันธ์ชล บุตรเมือง, เศรษฐ์ฐ พัฒนมาศ และธีทัต ตรีศิริโชติ. (2563). ความพร้อมด้านการศึกษาและความต้องการแรงงานของอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพภายในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก. ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับนานาชาติและระดับชาติด้านบริหารธุรกิจและการบัญชี 2563 ของเครือข่ายสถาบันการศึกษาแห่งภูมิภาคด้านบริหารธุรกิจ ครั้งที่ 2 (หน้า 107-115). เชียงใหม่: ศูนย์ประชุมนานาชาติเอ็มเพรส โรงแรม ดิ เอ็มเพรส. เข้าถึงได้จาก https://incbaa.kku.ac.th/home/articles/r/ncbaa2020th
ภัค วีระเสถียร และกมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ (2563). ความต้องการสมรรถนะแรงงานด้านโลจิสติกส์ภาคอุตสาหกรรมเป้าหมาย ในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก. วารสารมนุษยศาสตร์ ฉบับบัณฑิตศึกษา, 9(2), 110-124. เข้าได้จาก http://www.human.ru.ac.th/grad/humanities-journal-grade-school/78-78
วิภาดา พูลศักดิ์วรสาร. (2560). การสำรวจความต้องการเรียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาคริสตศาสนศาสตร์ในกรุงเทพฯ. Veridian E-Journal (ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ), 10(2), 910-926.
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. (2562). การพัฒนาทักษะบุคลากรตามแนวทาง EEC Model. เข้าถึงได้จาก https://eeco.or.th/th/eec-model
อมิตตา ภักดีถิรโภคิน ลือชัย วงษ์ทอง และกิจฐเชต ไกรวาส. (2563). ศึกษาเรื่อง ความพร้อมของสถาบันอาชีวศึกษาเพื่อรองรับการพัฒนาแรงงานไทยในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 14(4), 213-225.