องค์กรนวัตกรรมทางการศึกษา: การบริหารจัดการ

ผู้แต่ง

  • ภารดี อนันต์นาวี มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ

คำสำคัญ:

องค์กรนวัตกรรม, การบริหารจัดการ, มืออาชีพ, กลยุทธ์, ภาวะผู้นำ

บทคัดย่อ

       องค์กรนวัตกรรมทางการศึกษา เป็นองค์กรหรือหน่วยงานทางการศึกษาที่มีนวัตกรรมการบริหารการศึกษาและนวัตกรรมจัดการการเรียนการสอนยุคใหม่ โดยมีการปรับปรุง หรือพัฒนาสิ่งใหม่ ๆ ทั้งทางด้านกระบวนการทางความคิดสร้างสรรค์ การหาวิธีการใหม่ ๆ การใช้เทคโนโลยีการบริหารจัดการแบบใหม่ ๆ ทำให้องค์กรเกิดการเปลี่ยนแปลงจากเดิม เกิดสิ่งใหม่ที่แตกต่างและดีขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามเป้าหมายหรือสูงกว่าเป้าหมายขององค์กรที่เป็นเลิศ ดังนั้น ผู้บริหารจึงต้องมีความเป็นมืออาชีพมีวิสัยทัศน์กำหนดทิศทางขององค์กร มีภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม ภาวะผู้นำดิจิทัล และภาวะผู้นำเชิงวิชาการ มีบทบาทสำคัญในการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ด้วยวิธีการใหม่ ๆ มีการใช้เทคโนโลยี นวัตกรรมการบริหารจัดการใหม่ ๆ สอดคล้องกับสภาวะแวดล้อมขององค์กร ทำให้องค์กรเกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรและผู้เรียน ได้รับการยอมรับจากองค์กร ชุมชนและสังคม

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). คู่มือการประชุมเชิงปฏิบัติการชี้แจงแนวทางการดำเนินงานโครงการ โครงการสานพลัง ประชารัฐ ด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้นำ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

ขัตติยา ด้วงสำราญ. (2552). รูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

จักภัทสรัณย์ ไตรรัตน์ และสิรินธร สินจินดาวงศ์. (2563). การพัฒนาสถานศึกษาสู่องค์กรนวัตกรรม กรณีศึกษา: โรงเรียนในสหวิทยาเขตวิภาวดี. การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 15 ปีการศึกษา 2563.

ธีระ รุญเจริญ. (2557). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษาในยุคปฏิรูปการศึกษา เพื่อปฏิรูป รอบ 2 และประเมินภายนอกรอบ 3. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง.

บุญชม ศรีสะอาด และคณะ. (2552). พื้นฐานการวิจัยการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กาฬสินธุ์: ประสานการพิมพ์.

ปกรณ์ ลี้สกุล. (2561). Leadership in digital era: ภาวะผู้นำในโลกดิจิทัล. สืบค้นเมื่อ 6พฤศจิกายน 2561. จาก https://today.line.m e/th/pc/article/Leadership+in+Digital+Era.

พสุ เดชะรินทร์. (2553). การวางแผนและกำหนดยุทธศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภารดี อนันต์นาวี. (2557). หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). ชลบุรี: มนตรี จำกัด.

_______. (2560). นโยบายและการวางแผน: การนำสู่การปฏิบัติ. ชลบุรี: มนตรี จำกัด.

_______. (2562, กรกฎาคม-ธันวาคม). องค์กรแห่งความเป็นเลิศ: กรณีสถานศึกษา. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ. 8(2), หน้า 14-23.

ภารดี อนันต์นาวี และสิทธิพร ประวัติรุ่งเรือง. (2563, กรกฎาคม-ธันวาคม) การสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวกับการพัฒนาสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศเพื่อความยั่งยืน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ. 9(2), หน้า 76-88.

ลานนิพนธ์ เกษลา. (2557). ยุทธศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความเป็นผู้บริหารมืออาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดกาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร. (2557). นวัตกรรมทางการศึกษาที่สำคัญของไทยในปัจจุบัน. สืบค้นจาก http://www.bangkokeducation.in.th.article-details.php?id=1342.

สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (2553). การจัดการนวัตกรรมสำหรับผู้บริหาร ฉบับปรับปรุง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์. (2560, มกราคม 8). 11 คุณลักษณะของคนไทย 4.0 ที่ต้องปฏิรูปจะช่วยให้ Thailand 4.0 เป็นความจริง. ผู้จัดการออนไลน์. สืบค้นจาก http:www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=960000 0002086.

Adair, John E. (1996). Effective innovation: How to stay ahead of the competition. London: Pan Books.

Carlson, Curtis R,, & Wilmot, William W. (2006). Innovation: The five discipline for creating what customers want hardcover. August 8, 2006.

Hallinger, P. (2009). Assessing the contribution of distributed leadership to school improvement and growth in math achievement. American Educational Research Journal. 46, 626 - 658.

Holder, B. J., & Matter, G. (2008). The innovative organization. Retrieved from http://www.

geocities.com.CollegePark/Library/1048/innova.html.

Hoy, R. C. & Hoy, D. A. (2003). Organization behavior. San Francisco: Jossey – Bass. Heck, R.H.

Koontz, H. & O’Donnell, C. (2001). Essentials of management. New York: McGraw-Hill.

Moo, Gregory. (1992). Toward a synthesis of strategic planning and organization development. Dissertation Abstracts International. 52(12), p.4159-a

Steiss, Alan Walter. (2003). Strategic Management for Public and Nonprofit Organizations. New York: Marcel Dekker.

Taylor, F. W. (2005). E-Learning and the science of instruction. San Francisco: John Wiley and Son.

Thompson, S. L.; Scott, J.M.; & Martin, F. (2014). Strategic management: awareness & change. (7th ed.). Australia Cengage Learning.

UNESCO. (2005). School excellence: A training manual for educational management. United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization Institute for Capacity Building in Africa.

Von Stamm, B. (2008). Managing innovation, design and creativity. (2nd ed.). Chichester: John Wiley & Sons.

Weiss, S. Davic & Legrand, P. Claude. (2011). Innovative intelligence. Ontario: John Wiley & Sons Canada, Ltd.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-28