รูปแบบการจัดการเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจรีสอร์ทขนาดกลางในภาคตะวันตก ของประเทศไทยในสภาวะการแพร่ระบาดของโรคโคโรนาไวรัส 19

ผู้แต่ง

  • สิริกร หน่อทิม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตไกลกังวล
  • ชัชวาล แสงทองล้วน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตไกลกังวล
  • วรสิทธิ์ เจริญพุฒ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตไกลกังวล

คำสำคัญ:

การจัดการเชิงกลยุทธ์, ธุรกิจรีสอร์ทขนาดกลาง, การแพร่ระบาดของโรคโคโรนาไวรัส

บทคัดย่อ

การวิจัย ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อประเมินผลการจัดการเชิงกลยุทธ์ที่มีผลกระทบต่อความสำเร็จของธุรกิจรีสอร์ทขนาดกลาง ในพื้นที่ภาคตะวันตกของประเทศไทยในสภาวะการ แพร่ระบาดของโรคโคโรนาไวรัส 2) เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจรีสอร์ทขนาดกลางกับความสำเร็จของการจัดการเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจรีสอร์ทขนาดกลางในพื้นที่ภาคตะวันตกของประเทศไทย ในสภาวะการแพร่ระบาดของโรคโคโรนาไวรัส 3) เพื่อนำเสนอ แบบจำลองการจัดการเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจรีสอร์ทในพื้นที่ภาคตะวันตกของประเทศไทยในสภาวะการแพร่ระบาดของโรคโคโรนาไวรัส                                             

ผลการวิจัย พบว่า 1) การจัดการเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจรีสอร์ทขนาดกลาง ในพื้นที่ภาคตะวันตกของประเทศไทยในสภาวะการแพร่ระบาดของโรคโคโรนาไวรัสมีผลต่อธุรกิจรีสอร์ทขนาดกลางในระดับมาก     2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจรีสอร์ทขนาดกลางกับความสำเร็จของการจัดการเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจรีสอร์ทขนาดกลาง ในพื้นที่ภาคตะวันตกของประเทศไทยในสภาวะการแพร่ระบาดของโรคโคโรนาไวรัส เป็นเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ  3) รูปแบบการจัดการเชิงกลยุทธ์ ประกอบด้วย ผลสำเร็จของการจัดการ =  .060 ค่าคงที่  +.169 ระบบ +.179 บุคลากร  +.124โครงสร้าง +.143 ท้กษะการบริหาร+.157 ปัจจัยสภาวะการเมือง  +.110 กลยุทธ์การจัดการ  -.126สภาวะเศรษฐกิจ  +.225 สภาวะการทางสังคม  โดยมีอำนาจพยากรณ์ รัอยละ 73.9 ผลการวิเคราะห์เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีความสัมพันธ์กัน

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2560ก). ผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไทย. https://www.mots.go.th ›Tourism Economic.

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, (2560ข). สถิติด้านการท่องเที่ยว ปี 2561-2560. https://www.mots.go.th/news/category/497.

กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. (2563). แนวทางฟื้นฟูการท่องเที่ยวหลังวิกฤติโควิด-19. https://www.bangkokbiznews.com/social/885171.

กรุงเทพธุรกิจ, (2565). ยอดโควิด-19. https://www.bangkokbiznews.com/news/991893.

กันยาวีร์ เมฆีวราพันธุ์. (2558, พฤศจิกายน - เมษายน). รูปแบบความสำเร็จการตลาดธุรกิจสปาภาคกลางของประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, 6(1), 11-23.

คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ. (2560). แนวทางการขับเคลื่อนการท่องเที่ยว, ใน การประชุมคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 4. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.

นุชนารถ รัตนสุวงศ์ชัย. (2554). กลยุทธ์การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. วารสารมนุษยศาสตร์, 18(1), 31-50.

มาริสา สุโกศล หนุนภักดี. (2565, กุมภาพันธ์). โรงแรม53%อาจไปต่อได้แค่ 3 เดือน. ไทยรัฐฉบับพิมพ์. https://www.thairath.co.th/business/market/2309647.

เยาวภา ปฐมศิริกุล. (2553, เมษายน-มิถุนายน). กลยุทธ์การตลาดบริการสุขภาพของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 126, 57-74.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2563). แนวโน้มธุรกิจท่ามกลางโจทย์หิน ปี 2563. https://www.kasikornresearch.com/th/analysis/k-social-media/Pages/KRPress_Dec62.aspx.

สถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2560). รายงานการวิเคราะห์แนวโน้มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). รายงานประจำปี 2559. สำนักงานฯ.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2561). การสำรวจพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวของชาวไทย. กลุ่มบูรณาการข้อมูลและสถิติ สำนักสถิติและพยากรณ์.

เสาวณี จันทะพงษ์, เจริญชัย เอกมาไพศาล. (2564). คอลัมน์ "แจงสี่เบี้ย". หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 26 ตุลาคม 2564.

หญิงฤดี ภูมิศิริรัตนา, (2562). ยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชายแดนไทย-เมียนมา จังหวัดประจวบคีรีขันธ์, 8(2). https://shorturl.asia/7DGqV.

วศฐิฒฎา ธารารัตนสุวรรณ (2563). ผลกระทบเชื้อไวรัส COVID-19 ต่อวิกฤตการท่องเที่ยวของประเทศไทย (Impact of COVID-19 on Tourism Sector

in Thailand). https://www.senate.go.th/document/Ext24365/24365130_0002.PDF.

Baron, Jonathan. (2000). Thinking and deciding. Cambridge University Press.

COVID-19 Dashboard, (2020). https://covid19.who.int/.

World Health Organization, (2020). https://www.who.int/emergencies/diseases/novel-coronavirus-2019.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-29