ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 2
คำสำคัญ:
ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21, ประสิทธิผลของสถานศึกษา, สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 2) ศึกษาประสิทธิผลของสถานศึกษา 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่21 กับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษา 4) ศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษา โดยมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วยผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 169 คน และข้าราชการครู จำนวน 332 คน รวมจำนวน 501 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า 1) ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) ประสิทธิผลของสถานศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมาก 3) ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษามีความสัมพันธ์กันทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 4) ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่21 ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษามี 2 ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลของสถานศึกษา ได้แก่ ทักษะการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ (X3) และทักษะการคิดวิเคราะห์และการคิดสร้างสรรค์ (X1) สามารถพยากรณ์เกี่ยวกับประสิทธิผลการทำงานของสถานศึกษา ได้ร้อยละ 27.70
References
กชกร สร้อยโพธิ์พันธุ์. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อำนาจของผู้บริหารสตรีกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1. ราชบุรี. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง.
กรรณิกา เรดมอนต์. (2559). ตัวบ่งชี้ทักษะภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 สำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน. [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต].มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
ชัยยนต์ เพาพาน. (2559). ผู้บริหารสถานศึกษายุคใหม่ในศตวรรษที่ 21. วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 12(1), 1-9.
ธนวัฒน์ พรหมจินดา, ณัฐณภรณ์ เอกนราจินดาวัฒน์และจรัส อติวิทยาภรณ์. (2563). ทักษะการบริหารที่ส่งผลต่อสมรรถนะการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารในวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชนภาคใต้. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ . 8(2), 492.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย เล่ม 1. (พิมพ์ครั้งที่ 5). สุวีริยาสาส์น.
บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 10). สุวีริยาสาส์น.
ปัทมา ประทุมสุวรรณ. (2562). ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานีเขต 2. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
พิมล ป้องเรือ และ สุธิดา หอวัฒนกุล. (2565, มกราคม – มิถุนายน). โมเดลการพัฒนาคุณลักษณะผู้นำวิชาการในการบริหารสถานศึกษาต้นศตวรรษที่ 21 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ. 11(1), 123-134.
เรือนเพชร เต็กลี่ และจรัส อติวิทยาภรณ์. (2561). งานวิชาการรับใช้สังคมและการบริหารการศึกษา: การประชุมวิชาการระดับชาติ “วลัยลักษณ์วิจัย” ครั้งที่ 10: เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูและบุคลากรทางการศึกษาสังกัด สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
วีระยุทธ์ ชาตะกาญจน์. (2555). เทคนิคการบริหารสำหรับนักบริหารการศึกษามืออาชีพ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). วี.พริ้นท์.
ศิริธัญญา ประสุนิงค์. (2559).ทักษะการบริหารงานในศตวรรษที่21 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25. [สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
สมบัติ ท้ายเรือคำ . (2553). สถิติขั้นสูงสำหรับการวิจัยทางการศึกษา. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สัมมา รธนิธย์. (2556). หลัก ทฤษฎี และปฏิบัติการบริหารการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 4). พิมพ์ดีจำกัด.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2. (2564). การสังเคราะห์รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษาปีการศึกษา 2564. กลุ่มงานนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2.
สำนักงานเลขาธิการคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580. https://www.nesdc.go.th/download/document/SAC/NS_SumPlanOct2018.pdf.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. พริกหวานกราฟฟิค.
อดุลย์ วังศรีคูณ. (2557, มกราคม - มิถุนายน).การศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21: ผลผลิตและแนวทางการพัฒนา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 8(1).
อรอุมา ดวงจันทร์. (2558). ทักษะการบริหารงานของหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตจังหวัดอุบลราชธานี. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
Bennis, W. (1981). Leadership: executive ability. Harper & Row.
Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing (5th Ed.). Harper Collins Publishers.
Hoy, W. K., & Ferguson, John F. (1985). Theoretical framework and exploration organizational effectiveness of school. Educational Administration Quarterly. 21(2), 117 -134.
Katz, Robert. L. (1995, January - February). Skill of an effective administrator. Harvard Business Review, 33, 22-42.
Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and psychological measurement. 30(3), 607-610.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.