ผู้บริหารสถานศึกษา: ภาวะผู้นำดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • ภารดี อนันต์นาวี มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ

คำสำคัญ:

ผู้บริหารสถานศึกษา, ภาวะผู้นำดิจิทัล, การบริหารจัดการ, เทคโนโลยี, คุณลักษณะ

บทคัดย่อ

ผู้บริหารสถานศึกษามีบทบาทในการบริหารจัดการสถานศึกษาทั้งการบริหารงานวิชาการ งานบุคคล งานงบประมาณ และงานบริหารงานทั่วไป ให้ประสบความสำเร็จแบบผู้บริหารมืออาชีพ โดยเฉพาะการบริหารในยุคดิจิทัล ผู้บริหารต้องมีภาวะผู้นำดิจิทัล ที่มีความสามารถ ทักษะการบริหาร กระบวนการปฏิสัมพันธ์ของผู้บริหารกับการบริหารการเปลี่ยนแปลงองค์กร บริหารโดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมการบริหารจัดการใหม่ ๆ มีความคิดสร้างสรรค์ ปรับปรุงพัฒนาสิ่งใหม่ ๆ ทำให้องค์กรบรรลุผล เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามเป้าหมายหรือสูงกว่าเป้าหมายขององค์กรที่เป็นเลิศ ดังนั้น ผู้บริหารจึงต้องมีภาวะผู้นำดิจิทัล ประกอบด้วย 1) ความร่วมมือ การเรียนรู้ร่วมกัน พัฒนาความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม 2) ความรู้ดิจิทัล 3) วิสัยทัศน์ดิจิทัล 4) ทักษะการสื่อสาร และ 5) การพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลแก่บุคลากร ที่สอดคล้องกับบริบทขององค์กรเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์กรและสามารถอยู่รอดได้ในยุคดิจิทัล เกิดประโยชน์สูงสุดแก่องค์กร ผู้เรียน บุคลากร และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้รับการยอมรับจากผู้ปกครอง องค์กร ชุมชนและสังคม

References

กิตติชัย สุธาสิโนบล. (2565). หลักสูตรและการเรียนรู้แบบดิจิทัล. http://ejournals.swu.ac.th/index.php/jedu/article/view/11940.

ปัทมา ชัยโรจน์วงศ์. (2563). การพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในยุคดิจิทัลเพื่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มเครือข่ายพัฒนาการศึกษาเทอดไทย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

เพ็ญจันทร์ สินธุเขต. (2563). “การศึกษายุคนี้ (ยุคดิจิทัล) : Thailand 4.0,” รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและการนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ (Conference Proceedings) ครุศาสตรวิจัย ครั้งที่ 3: 2560 นวัตกรรมแห่งการเรียนรู้. https://edu.lpru.ac.th/eduresearch/nace2017/NACE2017.pdf.

ภารดี อนันต์นาวี. (2562, พฤษภาคม-สิงหาคม). การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานภาคตะวันออก. วารสารศึกษาศาสตร์. 30(2), 40-53.

ภารดี อนันต์นาวี. (2564, กรกฎาคม-ธันวาคม). องค์กรนวัตกรรมทางการศึกษา: การบริหารจัดการ. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ. 10(2), 10-21.

ภารดี อนันต์นาวี และสิทธิพร ประวัติรุ่งเรือง. (2565, มีนาคม-เมษายน). การสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบองค์กรนวัตกรรมทางการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารรัชต์ภาคย์. 16(45), 487-504.

สุรศักดิ์ ปาเฮ. (2562). การศึกษาภควันตภาพเรียนได้ทุกหนทุกแห่งและทุกเวลา. แพร่ไทย อุตสาหการพิมพ์.

สุกัญญา แช่มช้อย. (2562). การบริหารการศึกษาในยุคดิจิทัล. พิมพ์ครั้งที่ 2. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงาน ก.พ. (2560). แนวทางพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ ภาครัฐเพื่อการปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาลดิจิทัล. สำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี.

เอกชัย กี่สุขพันธ์. (2559). การบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล (School management in digital era). http://www.trueplookpanya.com/knowledge

/content.

เอกชัย กี่สุขพันธ์. (2562). “การบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล (School management in digital era)”, โครงการสานพลังประชารัฐ.

http://www.trueplookpanya.com.

Bellanca, James & Brandt, Ron. (Editors). (2010). 21st Century skills: Rethinking how students learn. Bloomington: Solution Tree Press.

Bestterlife. (2017). ภาวะผู้นำ เป็นผู้นำแห่งวิสัยทัศน์ วัฒนธรรมและการเป็นผู้นำแห่งอนาคต. https://joo.gl/hpjKkp.

Broadribb, K. (2014). Digital leaders: The new technology gurus in school. https://wholeeducation.wordpress.com/2014/11/28/digitalleaders-the-new-technology-gurus-in-school.

Friend, M. & Cook, L. (2010). Interactions: Collaboration skills for School Professionals. 6th Ed.. Pearson Education.

International Society for Technology in Education: ISTE. (2009). National education. Technology standards for administrators. https://www.hkedcity.net/article/ec-hot-post/23apr10/.

Jenkins, H. (2017). Digital literacy fundamentals. http://mediasmarts.ca/digital-media-literacy/generalinformation/digital-media-literacy-fundamentals/digital-literacyfundamentals.

Partnership. (2014). 21St Century skills: Framework for 21St century learning. https://www.p21.org/our-work/p21-framework.

Sheninger, E. C. (2014). Digital Leadership: changing paradigms for changing times. Thousand Oaks Corwin: SAGE.

Thomas, S. Bateman. (2019). M: Management. 6 th ed.. McGraw-Hill.

Tiger. (2020). What is digital leadership. https://www.thaiwinner.com/digital-leadership/.

Vivattanaputi, T. (2018). Digital Leadership. https://medium.com/@thanachartv/digital-transformation

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-29