การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับบุหรี่ของเด็กและเยาวชน
คำสำคัญ:
การศึกษาตลอดชีวิต, ความรอบรู้ด้านสุขภาพ, บุหรี่, เด็กและเยาวชนบทคัดย่อ
บุหรี่เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีสารอันตรายส่งผลต่อสุขภาพ ปัจจุบันมีการพัฒนาเป็นบุหรี่ไฟฟ้าให้มีรสชาติและมีกลิ่นหอม ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดมุ่งเป้าไปยังเด็กและเยาวชน ทำให้เด็กและเยาวชนเข้าถึงการบริโภคบุหรี่เป็นจำนวนมาก การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับบุหรี่อย่างเพียงพอ จะช่วยให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และตัดสินใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยสามารถนำการศึกษาตลอดชีวิตมาใช้จัดการศึกษาสำหรับส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับบุหรี่ให้กับเด็กและเยาวชนได้อย่างต่อเนื่อง คือ (1) การศึกษาในระบบ จัดทำหรือพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรให้มีเนื้อหารายวิชาความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับบุหรี่ (2) การศึกษานอกระบบนำศาสตร์และศิลป์การสอนผู้ใหญ่ไปใช้และจัดทำหลักสูตรหรือการอบรมระยะสั้นที่มีเนื้อหาความรอบรู้ด้านสุขภาพ (3) การศึกษาตามอัธยาศัย พัฒนาสื่อการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ หรือระบบนิเวศที่เอื้ออำนวยให้เด็กและเยาวชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารสุขภาพ
References
กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค. (2564, 21 มีนาคม). บุหรี่คืออะไร ประเภทและสารในบุหรี่. กองโรคไม่ติดต่อ. http://www.thaincd.com/2016/mediadetail.php.
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2559). การเสริมสร้างและประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเด็กวัยเรียน กลุ่มวัยทำงาน. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ.
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2563). รวมเทคนิคการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพสำหรับกลุ่มวัยทำงาน. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ.
เกศินี สราฤทธิชัย. (2564). ความรอบรู้ด้านสุขภาพ: แนวคิด ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้. ขอนแก่นการพิมพ์.
จินตนา สุจจานันท์. (2554). การศึกษาตลอดชีวิตและการพัฒนาชุมชน. โอเดียนสโตร์.
ชนิกา เจริญจิตต์กุล และ ชฎาภา ประเสริฐทรง. (2557, กันยายน-ธันวาคม). บุหรี่ไฟฟ้า: ภัยเงียบของวัยรุ่น. วารสารพยาบาลทหารบก, 15(3),149-154. https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/30476
ชนินทร์ ต่วนชะเอม. (2554). การพัฒนากระบวนการการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสร้างเสริมความฉลาดทางสุขภาวะสำหรับพระสงฆ์. [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทองอยู่ แก้วไทรฮะ. (2544). หน่วยที่ 1 ระบบการศึกษา ปรัชญาและหลักการศึกษานอกระบบ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ประชิด เชยกีวงศ์. (2541). พื้นฐานการศึกษาผู้ใหญ่และการศึกษาต่อเนื่อง. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
เมธชนนท์ ประจวบลาภ. (2565, มกราคม-มิถุนายน). นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในประเทศไทย, 2(1), 68-82. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jclmd_psru/article/view/254645
ศูนย์กฎหมาย. (2560). พระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560. กรมควบคุมโรค.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2566, 26 มิถุนายน). สถาบันยุวทัศน์ฯ-สสส. เปิดผลสำรวจพฤติกรรมเยาวชนต้องโทษคดียาเสพติด เนื่องในวันต่อต้านยาเสพติดโลกประจำปี 2566 ชี้บุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า ต้นทางสู่ยาเสพติด. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. https://shorturl.asia/2yePu
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2563). กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. อีเลฟเว่น สตาร์ อินเตอร์เทรด.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2564). การติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประเทศไทย. พริกหวานกราฟฟิค.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2566). ร่างมติ 2 เรื่องการสร้างระบบนิเวศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนทุกช่วงวัย สมัชชาการศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 1. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). การสำรวจพฤติกรรมด้านสุขภาพของประชากร พ.ศ. 2564. https://shorturl.asia/ROfUk
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). รายงานภาวะสังคมไทยไตรมาสสาม ปี2565. https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=5491&filename=socialoutlook_report
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2566). ภาวะสังคมไทยไตรมาสหนึ่ง ปี 2566. https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=5493&filename=socialoutlook_report.
สิตาภา เกื้อคลัง. (2561). องค์ประกอบและแนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ กศน.ตำบล[วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุมาลี สังข์ศรี. (2556). การเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประเทศไทย. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
อังศินันท์ อินทรกำแหง. (2560). ความรอบรู้ด้านสุขภาพ:การวัดและการพัฒนา. สุขุมวิทการพิมพ์.
แฟรร์, พี. (1970). Pedagogy of the Oppressed [การศึกษาของผู้ถูกกดขี่ฉบับครบรอบ 50 ปี]. สวนเงินมีมา.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.