การใช้สถิติอ้างอิงทดสอบสมมติฐาน ในการวิจัยเพื่อพัฒนาการสอนของครู
คำสำคัญ:
การวิจัยเพื่อพัฒนาการสอน, สถิติทดสอบสมมติฐานบทคัดย่อ
ครูทำวิจัยเพื่อพัฒนาการสอนโดยนำแนวคิดทางการสอนใหม่/นวัตกรรมการสอนใหม่มาประยุกต์สร้างเป็นนวัตกรรมการสอนให้สอดคล้องกับภาระรับผิดชอบการสอนของครู นำไปใช้แทนการสอนแบบเดิมกับนักเรียนทั้งชั้น หรือใช้เพื่อสอนซ่อมเสริมเฉพาะกับนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินตัวชี้วัดการเรียนรู้บางตัวชี้วัด ใช้แบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง(experimental research design) สรุปผลการวิจัยโดยใช้สถิติบรรยายลักษณะตัวอย่างค่าวัดตัวแปรที่ศึกษาและสถิติอ้างอิงสรุปผลการศึกษาค่าสถิติ (statistic) ไปยังค่าประชากรเชิงสมมติฐาน (parameter) หากตัวอย่างมีจำนวนน้อยกว่า 15 สมาชิก จะใช้สถิตินอนพาราเมตริก (nonparametric statistics) หากจำนวนตัวอย่างมากกว่า 15 สมาชิก ขึ้นไป จะใช้สถิติพาราเมตริก (parametric statistics) ได้แก่ 1) สถิติบรรยายcount percent mean และ standard deviation 2) สถิติทดสอบสมมติฐาน one-sample t test, t-test for correlated sample means และ t-test for independent sample means
References
ไพฑูรย์ โพธิสาร และ สุนันท์ ศลโกสุม. (2561, กรกฎาคม-ธันวาคม). “สถิติที่ใช้ในการวิจัยทางการศึกษาที่มีตัวอย่างจำนวนน้อย”. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ. 7 (2): 9-17.
George, Darren; & Mallery, Paul. (2006). SPSS for Windows Step by Step: A Simple Guide and Reference 13.0 Update. 6th ed., Boston; Pearson Education, Inc.
Johnson, Burke; & Christensen, Larry. (2004). Educational Research: Quantitative, Qualitative, and Mixed Approaches. 2nd ed., Boston; Pearson Education, Inc.
Macintyre, Christine. (2000). The Arts of Action Research in the Classroom. London: David Fulton Publishers.
Wiersma, William; & Stephen, G. Jurs. (2009). Research Methods in Education: An Introduction. 9th ed., Boston: Pearson Education, Inc.
Wynne, James D. (1982). Learning Statistics: A Common-sense Approach. New York: Macmillan Publishing Co., Inc.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.