สี่แนวทางทฤษฎี เพื่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง

Main Article Content

พลอยพิณญา หาญหฤทัยวัลก์

บทคัดย่อ

บทความเรื่องนี้นำเสนอสี่แนวทางทฤษฎี เพื่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง คือ แนวคิดเกี่ยวกับนวัตกรรมจากรากหญ้าเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (grassroots innovations for sustainable development) แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายชุมชน แนวคิดทุนสังคมของเอลินอร์ออสตรอม (Elinor Ostrom) และแนวคิดการกระทำหมู่เพื่อเปลี่ยนแปลงสังคม (transformative collective action) มีวัตถุประสงค์นำเสนอแนวทางทฤษฎี ทั้งสี่ทฤษฎี เพื่อเป็นวิทยาทานความรู้ให้กับผู้สนใจศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง เพื่อนำทฤษฎีข้างต้น ไปประยุกต์ใช้ในกรณีศึกษาที่เห็นว่าเหมาะสมตามแต่กรณี ดังนั้น บทความนี้นำเสนอว่าทฤษฎีทั้งสี่เป็นการอธิบายองค์ความรู้แห่งทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมือง เช่น กระบวนการสร้างนวัตกรรมจากรากหญ้าเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ระบบเครือข่ายชุมชนแนวคิดทุนสังคม การกระทำหมู่เพื่อเปลี่ยนแปลงสังคม ฯลฯ เป็นแนวทางศึกษาสำหรับผู้ที่สนใจเศรษฐศาสตร์การเมือง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2544). แนวคิดเศรษฐกิจชุมชน : ข้อเสนอทางทฤษฎีในบริบท

ต่างสังคม. กรุงเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน์, 2544.

ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์. (2555). เครือข่ายทางสังคมกับการมีส่วนร่วมของประชาชน.

(เอกสารประกอบการบรรยาย). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

นฤนันท์ สุริยมณี และคณะ. (2555). รายงานการวิจัยการศึกษากระบวนการส่งเสริม

และพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้นแบบให้มีสมรรถนะสูง

ในการบริหารจัดการเครือข่าย ระดับ ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ:

คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

ประเวศ วะสี. (2542). เศรษฐกิจพอเพียงและประชาสังคม แนวทางพลิกฟื้น

เศรษฐกิจสังคม. กรุงเทพฯ: หมอชาวบ้าน.

พระมหาสุทิตย์ อาภากโร. (2547). เครือข่าย : ธรรมชาติความรู้และการจัดการ.

กรุงเทพฯ: โครงการเสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข (สรส.).

สมพันธ์ เตชะอธิก และคณะ. (2537). ศักยภาพและเครือข่ายผู้นำชาวบ้าน “คู่มือ

และทิศทางการพัฒนาผู้นำชาวบ้านเพื่อแก้ปัญหาชนบท.

กรุงเทพฯ: เจริญวิทย์การพิมพ์.

เสรี พงศ์พิศ. (2546). คู่มือการปฏิบัติงานวิสาหกิจชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักส่งเสริม.

วิสาหกิจชุมชน.

Castells M. (1997). “The Power of Identity. The Information Age.”

Economy, Society and Culture, Vol. II. Oxford: Blackwell

Gambetta D. (Ed.) (1988). “Trust: Making and breaking cooperative

relations.” Oxford Blackwell. New York: 213-237.

Ostrom E. (2004). Collective action and property rights for sustainable

development. Workshop in Political Theory and Policy Analysis at Indiana University USA.

Ostrom E. & Ahn, T. K. (2007). Social capital: Workshop in political

theory and policy analysis USA.