บททดลองเสนอทฤษฎีการเมืองนครกับงานวิจัยเชิงคุณภาพ

Main Article Content

ทศพล ชิ้นจอหอ

บทคัดย่อ

บทความชิ้นนี้ผู้เขียนต้องการนำเสนอแนวคิดการเมืองนครเบื้องต้น ผ่านองค์ประกอบของระบอบนคร การจัดระเบียบทางการเมือง และความสัมพันธ์ในมุมมองมาร์กซิสต์ภายใต้ขอบเขตการเมืองนคร ที่ได้ช่วยสร้างความเข้าใจให้กับพื้นที่ความซับซ้อนในบริบทของเมืองเพราะปัจจุบันเป็นความหลากหลายของกลุ่มตัวแสดงทั้งในส่วนของภาครัฐ ภาคประชาชน และภาคเอกชนที่ล้วนส่งผลต่อการตัดสินใจทางการเมืองโดยเฉพาะในมิติการสร้างนโยบาย โครงการ และกฎระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ซึ่งสามารถกำหนดอนาคตและความเสื่อมโทรม ของเมืองได้ขณะเดียวกันแนวคิดการเมืองนครมีความสอดคล้องกับรูปแบบงานวิจัยเชิงคุณภาพ ผ่านตัวแบบการให้เหตุผลเชิงอุปนัย และรูปแบบการอธิบายเหตุผล ที่ได้ช่วยเพิ่มพรมแดนทางการศึกษาให้มีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2559). ประกาศรับสมัครบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโท หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมืองและการจัดการปกครอง. ค้นเมื่อ 5 มกราคม 2564, จาก www.polsci.chula.ac.th/?p=1739&fbclid.

ชัยลิขิต สร้อยเพชรเกษม และเมธี ดิสวัสดิ์. (2558). “สมมติฐานและวิธีการทางวิทยาศาสตร์.” วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยทักษิณ, 15,1: 13-27.

เด่นพงษ์ แสนคำ และอัครยา สังขจันทร์. (2562). “การให้เหตุผลสนับสนุนแนวคิดเรื่องสังคมนิยมของคาร์ล มาร์กซ์.” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 15,1: 37-60.

เตือนใจ คดดี. (2554). การพัฒนาความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ

ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยของจอห์น สจ๊วต มิลล์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ประโยชน์ ส่งกลิ่น. (2561). นโยบายสาธารณะแนวการตีความ Interpretive Public Policy. มหาสารคาม: อภิชาติ.

พิชญ์ พงษสวัสดิ์. (2560). เมือง กิน คน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์วัชรินทร์ พี.พี.

มีเดียสุโขทัยธรรมาธิราช. (2561). เรื่องแนวคิดการเมืองการปกครองในระดับนครและมหานคร. ค้นเมื่อ 5 มกราคม 2564, จากwww.media.stou.ac.th/watch/video/hTYCWk2.

ยูเอ็น. (2563). Popular statistical tables, country (area) and regional profiles. ค้นเมื่อ 12 มกราคม 2564, จาก www.data.un.org/en/reg/g1.html.

วัชรพล พุทธรักษา. (2561). ทฤษฎีระบอบนคร: บททดลองเสนอ An Introduction to the Urban Regime Theory. เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย

ครั้งที่ 12 (7-8 กันยายน 2561). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

แววดาว พรมเสน. (2554). “การวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ.”

วารสาร มทร. อีสาน, 4,1: 95-102.

สำนักพิมพ์สมมติ. (2564). สินค้า มูลค่า และสภาวะแปลกแยกในหนังสือ “ว่าด้วยทุน” ของ คาร์ล มาร์กซ์ (วัชรพล พุทธรักษา). ค้นเมื่อ 3 มกราคม 2564, จาก www.sm-thaipublishing.com/content/8180/karl-marx-contents.

อนุสรณ์ ลิ่มมณี. (2561). การอธิบายกับการวิเคราะห์ทางการเมือง: แนวคิดและ

ข้อโต้แย้งทางปรัชญาสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์.

Davies, J. S. (2010). “Back to the Future: Marxism and Urban Politics. In Davies, J. S. & Imbroscio, D. L. (Eds.).” Critical Urban Studies: New Directions: 73-88.

Davies, J. S. (2021). Between Realism and Revolt: Governing Cities in the Crisis of Neoliberal Globalism. Bristol: Bristol University Press.

Djordjevic, M. (2006). The Effect of Strategic Planning on Urban Governing Arrangements: The..Politics..of…Developmental.. Planning..in…Budapest…and…Warsaw..(Doctoral dissertation). Retrieved 3 January 2021, from www.politicalscience.ceu.edu/sites/djordjevic.pdf.

Dowding, K. (2016). The Philosophy and Methods of Political Science.

London: Palgrave.

Dowding, K., Dunleavy, P., King, D., Margetts, H., & Rydin, Y. (1999). “Regime Politics in London Local Government.” Urban Affairs Review, 34,4: 515-545.

Geddes, M. (2009). “Marxism and Urban Politics. In Davies, J. S. & Imbroscio, D. L. (Eds.).” Theories of Urban Politics Second Edition 2009: 55-72.

Hankins, K. B. (2015). “Regime Politics in Geography.” Urban Affairs Review, 51,1: 150-160.

John, P. (2009). “Why Study Urban Politics. In Jonathan S. Davies and David L. Imbroscio, (Eds.).” Theories of Urban Politics Second Edition 2009: 17-22.

Ling, T. (1991). “State Theory: Putting Capitalist States in their Place (Bob Jessop).” Capital & Class, 15,2: 129-135.

Morel, D. (2018). “Race and State in the Urban Regime.” Urban Affairs Review, 54,3: 490-523.

Mossberger, K. & Stoker, G. (2001). “The evolution of urban regime theory: The challenge of conceptualization.” Urban Affairs Review, 36,6: 810 - 835.

Stoker, G. (2018). “Governance as Theory: Five Propositions.” International Social Science Journal, 68,227-228: 15-24.