ปรากฎการณ์สำคัญของการสร้างระบอบอาหารปี พ.ศ. 2557- พ.ศ. 2562

Main Article Content

สันทราย วงษ์สุวรรณ

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งอธิบายปรากฏการณ์สำคัญของการสร้างระบอบอาหาร
ปี พ.ศ. 2557- พ.ศ. 2562 ของประเทศไทย ที่กำลังเผชิญกับวิกฤตการณ์ด้านอาหาร ซึ่งมีสาเหตุหลายประการไม่ว่าจะเป็นปัญหาการเข้าถึงปัจจัยการผลิตของเกษตรกร โดยเฉพาะปัญหาเรื่องที่ดิน ความเสื่อมโทรมของทรัพยากร ต้นทุนการเกษตรสูง
ปัญหาหนี้สิน การใช้สารเคมี ซึ่งเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพ การผูกขาดระบบตลาดและอาหาร ปัญหาเหล่านี้เกิดจากกลุ่มทุน รวมถึงพ่อค้าคนกลาง อย่างไรก็ตาม ผู้เขียนมองว่าประเด็นการเมืองเรื่องอาหาร เป็นประเด็นสำคัญทางด้านสังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐกิจการเมือง อาหารทำหน้าที่ในฐานะความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ ตัวแสดงภาคเอกชน ตัวแสดง ภาคประชาชน เพราะอาหารเข้ามามีบทบาทในการต่อสู้ต่อรองทางอำนาจและจัดสรรผลประโยชน์ของรัฐบาลและนายทุน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กัลยา จุฬารัฐกร. (2018). ข้อตกลงการค้าข้ามชาติที่ไทยเจรจา ทำชาวนา

สูญเสียการควบคุมเมล็ดพันธุ์. ค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2563,

จาก https://prachatai.com/journal/2018/06/77309.

กรีฑา เอี่ยมสกุล, สมบัติ พันธวิศิษฏ์, จรินทร์ เทศวานิช, และสมศักดิ์

เพียบพร้อม. (2559). “การวิเคราะห์การกระจายการถือครองที่ดินใน

ภาคเกษตรกรรมของไทย (ANALYSIS OF THE DISTRIBUTION OF LAND IN THE AGRICULTURAL SECTOR OF THAILAND).”

วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). ปีที่ 8 ฉบับที่ 15 มกราคม – มิถุนายน 2559.

จิรัฐ เจนพึ่งพร, วิษณุ อรรถวานิช, โสมรัศมิ์ จันทรัตน์, และบุญธิดา เสงี่ยมเนตร. (2562). พลวัตการทำเกษตรไทยและนัยต่อผลตอบแทนและความเสี่ยงของครัวเรือนเกษตร “ทำไมเกษตรกรไทยส่วนใหญ่ยังคงเลือกทำเกษตรที่เสี่ยงสูง แต่ผลตอบแทนตํ่าอยู่?”. สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ และ ธนาคารแห่งประเทศไทย

ชัยพงษ์ สำเนียง. (2554). องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กับการจัดการ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ 2,1: 160-199.

เชาวลิต สิมสวย. (2556). “พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการน้ำเพื่อการเกษตรในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่ขาน จังหวัดเชียงใหม่.” วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก 86 31,3 (มิถุนายน – กันยายน).

คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ. (2554). กรอบยุทธศาสตร์การจัดการด้านอาหารของประเทศไทย. สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข.

เดือนเด่น นิคมบริรักษ์. (2563). การบริหารจัดการน้ำกับการจัดการด้านสถาบัน.

ค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2563, จาก https://prachatai.com/journal/2017/07/72569.

โตมร ศุขปรีชา. (2563). อาหารเช้าชาวแอฟริกัน: ความจนในมื้ออาหาร,

สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2563, จาก https://themomentum.co/breakfast-in-africa/.

นิพนธ์ พัวพงศกร. (2563). TDRI ชี้ “น้ำท่วม-แล้ง” ไม่ได้เป็นเพราะแค่ภัยธรรมชาติ

แต่เกิดจากปัญหาด้านการจัดการ, ค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2563,

จาก https://prachatai.com/journal/2015/07/60445.

ปีติพงศ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยา, อภิชาติ พงษ์ศรีหดุลชัย, อิทธิพล ศรีเสาวลักษณ์,

ราชัย ชลสินธุสงครามชัย, ชัยวัฒน์ ไชยคุปต์, พรทิพย์ สุงคาสิทธิ์, รุ้งนภา โชติชูช่วง, ใบตอง รัตนขจิตวงศ์, และพงษ์พิษณุ เวปุลานนท์. (2559). โครงการศึกษาบทบาทของที่ดินในอนาคต. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์. (2563). เพราะเหตุใดการเข้าร่วม CPTPP จึงเป็นการผูกขาดเมล็ดพันธุ์. ค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2563,

จาก https://www.greenpeace.org/thailand/story/12455/food-sustainability-cptpp-and-seed-monopoly/.

เสาวณี จันทะพงษ์และ พรชนก เทพขาม. (2561). ธนาคารแห่งประเทศไทย.

“นวัตกรรมการเกษตร: ทางออกปัญหาความเหลื่อมล้ำของไทย ตอน 1”. บทวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจสายนโยบายการเงิน.

ศยามล ไกรยูรวงศ์ และคณะ. (2549). ข้อพิพาทและความขัดแย้งปัญหาที่ดินใน

ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา. (2553). การลดความเหลื่อมลํ้าและสร้างโอกาสการ

เข้าถึงทรัพยากร: กรณีศึกษาเรื่องที่ดิน. สืบค้นเมื่อ 02 กรกฎาคม 2563,

จาก https://prachatai.com/journal/2010/11/32029.

อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา. (2015). การบริหารจัดการน้ำกับการใช้ที่ดิน. ค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2563, จาก https://prachatai.com/journal/2017/07/72569.

Food and Agriculture Organization of the United Nations. (n.d.). World hunger on the rise. Retrieved August 25 2020, from http://www.fao.org/state-offood-security-nutrition/en/.

Ian Angus. (2008). FOOD CRISIS (Part Two): Capitalism, Agribusiness,

and the Food Sovereignty Alternative, Socialist Voice; May, 15 2008.

Nations. (2020). Focus on the Global South. Retrieved August 08 2020, from http://www.focusweb.org/india/content/view/733/30/.