การนำแนวคิดเชิงนวัตกรรมมาปรับใช้ในการพัฒนาระบบความมั่นคงปลอดภัย ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ปี 2563
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการนำแนวคิดเชิงนวัตกรรมมาปรับใช้ในการพัฒนาระบบความมั่นคงปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ปี 2563 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการนำแนวคิดเชิงนวัตกรรมมาปรับใช้ในการพัฒนาระบบความมั่นคงปลอดภัย เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรค และเพื่อวิเคราะห์ แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคของการนำแนวคิดเชิงนวัตกรรมมาปรับใช้ในการพัฒนาระบบความมั่นคงปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ปี 2563 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลคนสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารและบุคลากรในกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยส่วนกลาง จำนวน 7 คน ผลการวิจัยพบว่า การนำแนวคิดเชิงนวัตกรรมมาปรับใช้ในการพัฒนาระบบความมั่นคงปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ นั้นมีผลกระทบ และส่งผลกระทบต่อกันเหมือนลักษณะใยแมงมุม ที่มีความสัมพันธ์กันทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็น ด้านนโยบาย ด้านกฎหมาย/ระเบียบ/ข้อบังคับ ด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ และกระบวนการ/ขั้นตอน ซึ่งไม่สามารถแยกออกจากกันได้
Article Details
All contents and information in the manuscripts published by Journal of Political Science Critique are the authors’ opinions; thus, the authors take sole responsibility for any contents. The editorial board does not agree with or accept responsibility for the manuscripts.
All published articles, information, contents, pictures, or other things in Journal of Political Science Critique are Copyright by the Journal. All Rights Reserved. All contents may not be copied or duplicated in whole or part by any means without the prior written permission of Journal of Political Science Critique.
References
กรกช วิไลลักษณ์. นาวาโท. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการบรรยายชุดวิชา คอมพิวเตอร์เบื้องต้น. เอกสารอัดสำเนา. กรุงเทพฯ: หาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. (2563). มาตรการจัดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ. เอกสารแผนมาตรการจัดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ. เอกสารอัดสำเนา. กรุงเทพฯ: กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. (2563). ความเป็นมากรม ปภ.. ค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563 จาก https://www.disaster.go.th/th/about-about01/.
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. (2563). ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ.2560-2564. ค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2563 จาก https://www.disaster.go.th/th/about_strategy.php.
ขวัญตา เบ็ญจะขันธ์. (2560). “ไทยแลนด์ 4.0 กับการปรับตัวของข้าราชการไทย” วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ 6,2(เมษายน-มิถุนายน): 661-676.
เชฐ ศรีแย้ม. (2557). การพัฒนาระบบติดตามสถานะเครือข่ายคอมพิวเตอร์ : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาวิชาสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษา.
ณภัทร งามวิลัย. (2558). การศึกษาการยอมรับนวัตกรรมแท็บเล็ตเพื่อการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษา ของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดกำแพงเพชร. (งานค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยนเรศวร, หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา.
ณัทชลิดา บุตรดีวงษ์. (2561). การใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ของโรงเรียนแสนสุข สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขต 18. (การค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกริก, หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา.
นิศาชล ฉัตรทอง. (2561). บริบทภาครัฐไทยกับการก้าวเข้าสู่องค์กรแห่งนวัตกรรม. ค้นเมื่อ 9 มกราคม 2564 จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/oarit/article/download/137488/102336/.
โนรีย์ ทรัพย์โสภณ. (2559). ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารงานบุคลากรของสถานศึกษาอาชีวศึกษา จังหวัดสระแก้ว สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา, คณะศึกษาศาสตร์, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา.
บริษัท ทีโอที จำกัด(มหาชน). รู้ให้ชัด กับ พ.ร.บ. การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2562. ค้นเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2564 จาก https://www.tot.co.th/blogs.
ปรัชญา สนิทมัจโร. (2559). การนำแนวคิดเชิงนวัตกรรมมาใช้ในกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยศึกษากรณีการพัฒนาเครือข่ายสู่ภาครัฐ (การค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยรามคำแหง, คณะรัฐศาสตร์.
ปวีณา กสนรถ. (2559). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (การค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกริก, คณะบริหารธุรกิจ.
พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ. และคณะ. (2562). “ยุทธศาสตร์การจัดการภัยคุกคามด้านไซเบอร์สำหรับประเทศไทย.” วารสารมหาวิทยาลัยมหิดล 2,1(มกราคม-มิถุนายน): 61-95.
พรทิพย์ วงศ์สินอุดม. (2558). การพัฒนาแอปพลิเคชันบทเรียนบนคอมพิวเตอร์พกพาร่วมกับการเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน ที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ร่วมกันของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดเพชรบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาเทคโนโลยีการศึกษา.
พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2560. (2560, 24 มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134, ตอนที่ 10ก.. หน้า 1-23.
พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. 2562. (2562, 27 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136, ตอนที่ 69ก.. หน้า 20-51.
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562. (2562, 27 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136, ตอนที่ 69ก.. หน้า 52-95.
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 (ฉบับที่ 2). (2560, 24 มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134, ตอนที่ 10ก.. หน้า 24-35.
พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 (ฉบับที่ 4). (2562, 22 พฤษภาคม) . ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136, ตอนที่ 67ก.. หน้า 203-207.
ภควิศว์ ทองสาลี. (2554). กรณีศึกษาการเปรียบเทียบไฟร์วอลล์ Compare Firewalls Case Study. (สารนิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร, บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ.
มนัสวี ศักดิ์วาลี้สกุล. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดความล่าช้าในขั้นตอนการปฏิบัติงานในระบบรับและนำส่งของสำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร (ค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์.
โรงเรียนทหารสื่อสาร กรมการทหารสื่อสาร. Laws and Ethics in Information Tecnalogy จุดเริ่มต้นของความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ. ค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2564 จาก http://www.signalschool.ac.th/8/1.pdf.
วิโรจน์ ก่อสกุล. (2558). เอกสารประกอบการบรรยายกระบวนวิชาองค์การและนวัตกรรมในองค์การ. กรุงเทพฯ: โครงการรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศราวุฒิ จันทะคัด. (2554). การจัดการความปลอดภัยภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์กรณีศึกษา: บริษัทแซนด์แอนด์ซอยล์อุตสาหกรรม จำกัด. (สารนิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร, บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ.
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์. และคณะ. (2553). “นวัตกรรม: ความหมาย ประเภท และความสำคัญต่อการเป็นผู้ประกอบการ.” วารสารบริหารธุรกิจ 33 (ตุลาคม-ธันวาคม): 54-57.
สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย TMA. (2564). นวัตกรรมกับองค์การ. ค้นเมื่อ 9 มกราคม 2564 จาก https://tma.or.th/2016/news_detail.php?id=182.
สุภางค์ จันทวานิช. (2559). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 23). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2559). เอกสารประกอบการบรรยายการจัดการความรู้. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.
อรวรรณ คงมาลัย. (2561). “บทบาทของนวัตกรรมองค์กร สมรรถนะเชิงนวัตกรรม และการถ่ายโอนต่อนวัตกรรมของธนาคารพาณิชย์ในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล.” วารสารการจัดการมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 8,1(มกราคม-มีนาคม): 34-42.
อุดม ประตาทะยัง. พลเรือตรี. (2560). แนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนายุทธศาสตร์ ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์. (การค้นคว้าอิสระ). วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร.
ไอริน โรจน์รักษ์. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นองค์การนวัตกรรมกับสมรรถนะในการสร้างสรรค์นวัตกรรม: กรณีศึกษา สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะรัฐศาสตร์, สาขารัฐประศาสนศาสตร์.
ITNews4u. (2564). ซอฟต์แวร์ (Software) คืออะไร แบ่งออกได้กี่ประเภท มาดูกัน. ค้นเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2564 จาก http://itnews4u.com/what-is-software.html.
Youtube. (4 พฤศจิกายน 2561). พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2560 ฉบับเข้าใจง่าย [Video file]. ค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=LwMSsneKuzc.