แนวทางการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลตำบลหมูสี อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลตำบลหมูสี อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศไทย และมีแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของขยะมูลฝอยเป็นจำนวนมากในช่วงหลัง เพื่อเสนอแนวทางพัฒนาการบริหารจัดการเกี่ยวกับขยะมูลฝอยให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ต่อไปในอนาคต การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลคนสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหาร ข้าราชการและพนักงานที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญมากกว่าการกำหนดทิศทางของนโยบาย โดยปัจจัยด้านจำนวนบุคลากรเป็นปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการจัดการขยะมูลฝอยมากที่สุด
Article Details
All contents and information in the manuscripts published by Journal of Political Science Critique are the authors’ opinions; thus, the authors take sole responsibility for any contents. The editorial board does not agree with or accept responsibility for the manuscripts.
All published articles, information, contents, pictures, or other things in Journal of Political Science Critique are Copyright by the Journal. All Rights Reserved. All contents may not be copied or duplicated in whole or part by any means without the prior written permission of Journal of Political Science Critique.
References
กรมควบคุมมลพิษ. (2557). คู่มือประชาชนการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธีและเพิ่มคุณค่า. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: บริษัทฮีซ์ จำกัด.
กรมควบคุมมลพิษ. (2561). รายงานสถานการณ์สถานที่กำจัดขยะมูลฝอยชุมชนของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ: กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
เกษม จันทร์แก้ว. (2540). โครงการสหวิทยาการบัณฑิตศึกษา สาขาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
จิดาภา ทัดพินิจ. (2555). สมรรถนะการปฏิบัติงานของบุคลากรมหาวิทยาลัยรามคำแหงในการนำเกณฑ์ คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมาปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ชัยวิชิต พลหลา. (2559). แนวทางการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์, สาขาบริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ.
ธัญวรัตม์ อินทรโชติ. (2560). การจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองคูคต. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์, สาขาการเมืองการปกครอง.
นันทวัฒน์ บรมานันท์. (2552). หลักการกฎหมายปกครองเกี่ยวกับบริการสาธารณะ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ตุลา.
นิตย์รดี ใจอาษา. (2555). ความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อกระบวนการบริหารจัดการใน องค์การบริหารส่วนจังหวัดจันทบุรี. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน.
ปนัดดา วิเศษรจนา. (2559). การจัดการขยะมูลฝอยของสำนักงานเขตดินแดง กรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยรามคำแหง, คณะรัฐศาสตร์.
ปรัชญา เวสารัชช์. (2540). บริการประชาชนทำได้ไม่ยาก (ถ้าอยากทำ). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 (ฉบับที่ 3). (2560, 22 มิถุนายน) . ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134 ตอนที่ 65 ก.. หน้า 48-58.
วรรณธณี กองจันทร์ดี. (2555). การจัดการขยะของผู้ค้าในตลาดสด ศึกษากรณีตลาดสดบางกะปิและตลาดนครไทย เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์, คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม, สาขาการจัดการสิ่งแวดล้อม.
สมคิด บางโม. (2546). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.
สำนักงานเทศบาลตำบลหมูสี. (2563). ประวัติความเป็นมา. ค้นเมื่อ 8 มกราคม 2564 จาก http://moosi.go.th/data.php?content_id=1
สุพรรณี ทรัพย์ทวีวศิน. (2560). การนำนโยบายการจัดการขยะมูลฝอยไปสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ กรณีศึกษา ในพื้นที่เทศบาลนครปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. (การค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์, สาขาบริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ.
สุภัคชัย บดิการ. (2561). การศึกษาแนวทางในการจัดการขยะมูลฝอย ของเทศบาลตำบลนาเหรง อำเภอนบพิตำ จังหวัดนครศรีธรรมราช. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาวิชาการพัฒนาสังคม.
อัจจพร ผลารักษ์. (2557). การศึกษาการจัดการขยะมูลฝอยในเขตเทศบาลเมืองกระทุ่มล้ม ตําบลกระทุ่มล้ม อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม. (การค้นคว้าอิสระมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์.