ประชาชนชาวเมียนมากับการเรียกร้องความรับผิดชอบในการปกป้อง
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเรียกร้องหลักความรับผิดชอบในการปกป้องของประชาชนชาวเมียนมา โดยมีการเรียกร้องให้สหประชาชาติเข้าไปแทรกแซงเพื่อยุติการใช้ความรุนแรงของคณะรัฐประหาร เนื่องจากสถานการณ์ภายในประเทศเมียนมามีการใช้ความรุนแรงกับประชาชนที่มีการออกมาเรียกร้องหรือต่อต้านการรัฐประหาร จากนั้นจะพิจารณาตามเกณฑ์ของสหประชาชาติว่าข้อเรียกร้องของชาวเมียนมาดังกล่าวเข้าเกณฑ์ของการที่จะใช้หลักการความรับผิดชอบในการปกป้องแล้วหรือไม่ ซึ่งบทสรุปคือการใช้หลักการความรับผิดชอบในการปกป้องนั้นเป็นไปได้ยากในกรณีการรัฐประหารในเมียนมา เพราะแม้แต่เหตุการณ์ในเมียนมาที่เข้าข่ายตามหลักความรับผิดชอบในการปกป้องมากกว่าอย่างวิกฤติการณ์โรฮิงญา ก็ยังไม่มีการแทรกแซงเพื่อยุติความรุนแรงโดยองค์การสหประชาชาติแต่อย่างใด
Article Details
All contents and information in the manuscripts published by Journal of Political Science Critique are the authors’ opinions; thus, the authors take sole responsibility for any contents. The editorial board does not agree with or accept responsibility for the manuscripts.
All published articles, information, contents, pictures, or other things in Journal of Political Science Critique are Copyright by the Journal. All Rights Reserved. All contents may not be copied or duplicated in whole or part by any means without the prior written permission of Journal of Political Science Critique.
References
กิตติคุณ, ไชยวัฒน์ ค้ำชู และปราณี ทิพย์รัตน์. (3 เมษายน 2564). อนาคตการเมืองเมียนมาอาจพลิกผัน(?) จากกองกำลังกลุ่มชาติพันธุ์ | มหาอำนาจฝ่ายประชาธิปไตยหรือฝ่ายอัตตาธิปไตยจะเป็นผู้นำในการกำหนดระเบียบโลก[Video file]. ค้นจาก https://curadio.chula.ac.th/Program-Detail.php?id
กองศึกษาวิจัยทางยุทธศาสตร์และความมั่นคงฯ. (2556). หลักการความรับผิดชอบในการปกป้อง “Responsibility to Protect (RtoP)”. ค้นเมื่อ 30 กันยายน 2564 จาก https://www.sscthailand.org/uploads_ssc/033-SWF%20P033%2027May-2%20june
จันจิรา สมบัติพูนสิริ. (2558). หลักรับผิดชอบเพื่อปกป้องและผลต่อการก่อร่างองค์ความรู้การเมืองระหว่างประเทศร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไทยรัฐออนไลน์. (8 มีนาคม 2564). ปรากฏการณ์ "ทูตอารยะขัดขืน" ในวิกฤติรัฐประหารเมียนมา จากเวทีUNสู่ทั่วโลก. ค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/foreign/204500
มติชนออนไลน์.(11 เมษายน 2564). ความรุนแรงในเมียนมายกระดับ ประชาชนเริ่มตอบโต้ทหาร ผวาเกิดสงครามกลางเมือง. ค้นจาก https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_2669644
ภาสกร ญี่นาง. (2564). การต่อต้านรัฐประหารในประเทศเมียนมาของคนภายนอกไม่เท่ากับ ‘การไปยุ่งกิจการภายใน’. ค้นเมื่อ 30 กันยายน พ.ศ.2564 จาก https://themomentum.co/thinktank-myanmar-coup/
Thai TBS. (2 เมษายน 2564). เสียงจาก "เมียนมา" 60 วัน "ยึดอำนาจ" ออง ซาน ซู จี : ตอบโจทย์ [Video file]. ค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=xi7PLtAXg7I
Thai TBS. (8 มีนาคม 2564). จับตา "ข้อเรียกร้อง R2P" กองกำลังต่างชาติ "ปกป้องเมียนมา" : ตอบโจทย์ [Video file]. ค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=SKvzRxz3GEA
Aidan Hehir. 2019. Hollow Norms and the Responsibility to Protect. UK: Department of Politics and International Relations University of Westminster London
Global centre for the responsibility to protect. (n.d.). WHAT IS R2P?. Cited 5 Oct 2021. Available from https://www.globalr2p.org/what-is-r2p/
Tint Zaw Tun. (2021). Myanmar workers in Japan protest against Tatmadaw’s actions. Cited 1 Feb 2021. Available from https://www.mmtimes.com/news/myanmar-workers-japan-protest-against-tatmadaws-actions.html?