การสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการแก้ไขปัญหา การโจรกรรมรถยนต์ผ่านชายแดนไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยเรื่อง การสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการแก้ไขปัญหาการโจรกรรมรถยนต์ผ่านชายแดนไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการ
สร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการแก้ไขปัญหาการโจรกรรมรถยนต์ผ่านชายแดนไทย และเพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค ในการแก้ไขปัญหาการโจรกรรมรถยนต์ผ่านชายแดนไทยการศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นหลัก โดยแบ่งตามวิธีการและกลุ่มเป้าหมายในแต่ละกลุ่ม แบ่งการวิจัยออกเป็น 2 แบบดังนี้ 1. การศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยการศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ บทความ วิทยานิพนธ์ ตลอดจนเอกสารต่าง ๆ เพื่อนำมาประกอบการศึกษา 2. การศึกษาภาคสนาม ใช้การสัมภาษณ์เจาะลึก โดยมีแบบสัมภาษณ์
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
All contents and information in the manuscripts published by Journal of Political Science Critique are the authors’ opinions; thus, the authors take sole responsibility for any contents. The editorial board does not agree with or accept responsibility for the manuscripts.
All published articles, information, contents, pictures, or other things in Journal of Political Science Critique are Copyright by the Journal. All Rights Reserved. All contents may not be copied or duplicated in whole or part by any means without the prior written permission of Journal of Political Science Critique.
References
นโกสินทร์ สุริยะฉาย. (2553). การพัฒนาระบบแผนที่อาชญากรรม กรณีศึกษา การโจรกรรมรถในพื้นที่อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม. สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ปิยนุช ปานแก้ว. (2553). วิเคราะห์ข้อมูลทางอาชญากรรมโดยใช้โปรแกรมทางภูมิศาสตร์ เป็นการนำเอาข้อมูลอาชญากรรมของอำเภอชะอวด อำเภอเมือง ในจังหวัด นครศรีธรรมราช. สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พรชัย ขันตี และคณะ. (2543). ทฤษฎี และงานวิจัยทางอาชญาวิทยา. กรุงเทพมหานคร : บุ๊คเน็ท.
พิสิษฐ์ เทพไกรวัล. (2554). การพัฒนารูปแบบเครือข่ายความร่วมมือเพื่อคุณภาพการจัดการศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญา
ดุษฎีบัณฑิตบัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พุฒิพงศ์ มนตรีโพธิ์. (2550). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์เขต4 . วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร
มหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ไพฑูรย์ อินทรัตน์ชัยกิจ และกันยารัตน์ พึงม่วง. (2551). การพัฒนารูปแบบการควบคุมปัญหาอาชญากรรมในคดีเกี่ยวกับทรัพย์ : ศึกษากรณีการโจรกรรมรถจักรยานยนต์. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
สาวิตรี คะลีล้วน. (2551). การพัฒนาความร่วมมือในการปฏิบัติงานของบุคลากร สังกัดกองการศึกษาเทศบาลตำบลดอนหญ้านาง อำเภอพรเจริญ จังหวัดหนองคาย.
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สุดสงวน สุธีสร. (2546). อาชญาวิทยาและงานสังคมสงเคราะห์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุพิน โกศลบัณฑิตกูล. (2550). การวิจัยสร้างยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถจักรยานยนต์ในเขตเทศบาลนครลำปางโดยประชาชนมีส่วนร่วม. ลำปาง:
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
อุมาพร บุญเพชร. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษากับความร่วมมือของบุคลากรในสถานศึกษา สำนักงานเขตหนองจอก สังกัดกรุงเทพมหานคร. งานนิพนธ์หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์,มหาวิทยาลัยบูรพา.