นโยบายการป้องกันความปลอดภัยของแรงงาน พ.ศ. 2554 ถึง พ.ศ. 2562
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยเรื่อง นโยบายการป้องกันความปลอดภัยของแรงงาน พ.ศ.2554 ถึง พ.ศ. 2562 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงนโยบายการป้องกันความปลอดภัย
ของแรงงาน พ.ศ. 2554 ถึง พ.ศ. 2562 เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคด้านการนำนโยบายไปปฏิบัติของนายจ้างในการป้องกันความปลอดภัยของแรงงาน พ.ศ. 2554 ถึง พ.ศ. 2562 และเพื่อศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการป้องกันความปลอดภัยของแรงงานในประเทศไทย เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (QualitativeResearch) เพื่อศึกษาตามวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงนโยบายการป้องกันความปลอดภัยของแรงงาน ศึกษาปัญหาและอุปสรรคของนโยบายการป้องกันความปลอดภัยของแรงงาน พ.ศ. 2554 ถึง พ.ศ. 2562 และศึกษาแนวทางการแก้ไขนโยบายการป้องกันความปลอดภัยของแรงงานในประเทศไทย
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
All contents and information in the manuscripts published by Journal of Political Science Critique are the authors’ opinions; thus, the authors take sole responsibility for any contents. The editorial board does not agree with or accept responsibility for the manuscripts.
All published articles, information, contents, pictures, or other things in Journal of Political Science Critique are Copyright by the Journal. All Rights Reserved. All contents may not be copied or duplicated in whole or part by any means without the prior written permission of Journal of Political Science Critique.
References
กวีวรรณ วรรณทวี. (2550). ปัญหาการนำนโยบายของกรมที่ดินไปปฏิบัติโดยสำนักงานที่ดินจังหวัดสุรินทร์. รัฐประศาสนศาสตร์ สาขาวิชานโยบายสาธารณะ
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
กุลชญา แว่นแก้ว และคณะ. (2550). การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ กรณีศึกษา : หน่วยงานส่วนภูมิภาคจังหวัดศรีสะเกษ.
วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ).
เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์. (2549). ปรัชญาและแนวคิดเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน เอกสารการสอนชุดวิชาหลักความปลอดภัยในการทางานหน่วยที่ 1-8.
นนทบุรี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช., พิมพ์ครั้งที่12.
ธนิฏฐา ทองนาค. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยกับการประสบอันตรายของนักศึกษาในวิทยาลัยสังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดอ่างทอง. วิทยานิพนธ์ สาขาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธีระ รามสูตร. (2535). แนวคิดและแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ. กรุงเทพมหานคร : องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
ธีระพล ติษยาธิคม. (2546). ความปลอดภัยในการทำงานของลูกจ้างในสถานประกอบการที่ได้รับการรับรอง มอก.18001 : ศึกษาเฉพาะบริษัทโตโยต้ามอเตอร์ประเทศไทย จำกัด. สารนิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาพัฒนาแรงงานและสวัสดิการ, คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปราโมช เชี่ยวชาญ. (2550). งานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย.ในเอกสารการสอนชุดวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยหน่วยที่ 1-7. นนทบุรี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.,พิมพ์ครั้งที่ 5.
สถานการณ์ด้านแรงงานไตรมาส 2 ปี 2562, กองเศรษฐกิจการแรงงาน สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน, หน้า 2-3
สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน, กรม, สำนักความปลอดภัยแรงงาน. (2555). แผนแม่บทความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานแห่งชาติ
(พ.ศ.2555–2559).กรุงเทพมหานคร :บางกอกบล็อก.
สุธาทิพย์ รองสวัสดิ์. (2555) ได้ศึกษาปัจจัยการรับรู้เรื่องความปลอดภัยในการทำงานที่มีผลต่อพฤติกรรมในการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการประจำการ
ไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จ.เชียงใหม่. กรณีศึกษาเฉพาะบุคคล. บธ.ม. (การจัดการ). กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.