การเลื่อนไหลของกลุ่มประวัติศาสตร์ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองสยาม

Main Article Content

วีรชน เกษสกุล
วัชรพล พุทธรักษา

บทคัดย่อ

บทความชิ้นนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษา “คณะราษฎร” ในฐานะที่เป็นกลุ่มก้อนทางประวัติศาสตร์ที่มีบทบาทสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองสยาม และเป็นกลุ่มที่สามารถครองอำนาจนำทางการเมืองการปกครองสยามได้ นับตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 จนถึง พ.ศ. 2490 โดยในการศึกษาครั้งนี้ผู้เขียนได้ใช้แนวความคิดว่ากลุ่มก้อนทางประวัติศาสตร์ เป็นกรอบในการแสวงหาความรู้ และเป็นเครื่องมือในการที่จะช่วยเผยให้เห็นถึงความซับซ้อนของความสัมพันธ์ภายในกลุ่มประวัติศาสตร์ดังกล่าว ผลการศึกษาพบว่า “คณะราษฎร” ภายใต้บริบททางสังคมและการเมืองหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองสยามจนถึงพ.ศ. 2490 เป็นกลุ่มก้อนทางประวัติศาสตร์ที่ไม่ได้มีความเป็นเอกภาพ แข็งทื่อ แน่นอน และตายตัว หากแต่ภายในกลุ่มมีความเลื่อนไหล และมีความพยายามในการช่วงชิงการนำของกลุ่มย่อย ๆ ภายในอยู่เสมอ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2557). การเมืองว่าด้วยการต่อสู้ทางชนชั้นในประเทศไทยจาก พ.ศ. 2535 ถึง พ.ศ. 2549 (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะรัฐศาสตร์.

คำแถลงการณ์ของรัฐบาล. (2476, 1 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 50. หน้า 7-9.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. (2547). ปฏิวัติ 2475. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

_________. (2560). ปฏิวัติ 2475 (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

ชาตรี ประกิตนนทการ. (2552). ศิลปะ-สถาปัตยกรรมคณะราษฎร : สัญลักษณ์ทางการเมืองในเชิงอุดมการณ์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน.

ณัฐพล ใจจริง. (2559). กบฏบวรเดช:เบื้องแรกปฏิปักษ์ปฏิวัติสยาม 2475. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน.

ณัฐพล ใจจริง. (2562). คำนิยม ใน ศรัญญู เทพสงเคราะห์. ราษฎรธิปไตย : การเมือง อำนาจ และทรงจำของ(คณะ)ราษฎร. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน.

ดำริห์ ปัทมะศิริ. (2505). ยี่สิบเจ็ดรัฐบาลใน 26 ปี. อนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพนางเจียมวิเศษกลปกิจ ณ วัดไตรมิตรวิทยาราม พระนคร.

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์. (2543). 2475 และ 1 ปี หลังการปฏิวัติ. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาฯ.

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2533). ความคิดความรู้และอำนาจในการปฏิวัติสยาม2475. กรุงเทพมหานคร: เอดิสัน เพรส.

___________. (2547). การสละราชสมบัติในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ศึกษากระบวนการจัดการ "ความจริง" ว่าด้วยพระมหากษัตริย์นักประชาธิปไตย. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.

___________. (2553). การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475. กรุงเทพมหานคร: ฟ้าเดียวกัน.

ประยูร ภมรมนตรี. (2518). ชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้า. กรุงเทพมหานคร: บรรณกิจ.

___________. (2525). ชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้า. บริษัท บพิธการพิมพ์ จำกัด.

ปรีดี พนมยงค์. (2542). เค้าโครงการเศรษฐกิจ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์). กรุงเทพมหานคร: โครงการจัดพิมพ์ทำสื่อเผยแพร่เกียรติคุณ นายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส สำหรับเด็กและเยาวชน.

___________. (2557). บางเรื่องเกี่ยวกับการตั้งคณะราษฎรและระบบประชาธิปไตย. เบื้องหลังการปฏิวัติ 2475 (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพมหานคร: ชนนิยม.

ปั้น บุณยเกียรติ และเฮง เล้ากระจ่าง. (2475). สยามรัฐเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดินอย่างมีพระราชาธิบดีอยู่ใต้พระธรรมนูญการปกครอง. พระนคร: โรงพิมพ์เดลิเมล์.

พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จ. (2524). ชีวิตของประเทศ. เจริญวิทย์การพิมพ์.

พระมหามนตรี ศรีองครักษสมุหะ. (2508). บทความของพระมหามนตรี ศรีองครักษสมุหะเขียนให้เป็นอนุสรณ์แด่ท่านผู้ล่วงลับไปสู่สุคติภพแล้ว. ที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพนาวาเอก หลวงศุภชลาศัย ป.ม.,ท.ช. ณ เมรุวัดเทพศิริทราวาส. โรงพิมพ์การศาสนา.

ภูธร ภูมะธน. (2521). ศาลพิเศษ พ.ศ. 2476 พ.ศ. 2478 และพ.ศ. 2481 (วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต).จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยม คณะอักษรศาสตร์ม ภาควิชาประวัติศาสตร์.

ภูริ ฟูวงศ์เจริญ. (2560). การเมืองหลังการปฏิวัติสยาม: พลวัต พัฒนาการ และชะตากรรมของระบบไร้พรรค. ปทุมธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

___________. (2563). การเมืองการปกครองไทย: พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ (พ.ศ. 2475-2540). ปทุมธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ยาสุกิจิ ยาตาเบ. (2563). การปฏิวัติและการเปลี่ยนแปลงในประเทศสยาม (พิมพ์ครั้งที่ 4) กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน

รำไพพรรณี, สมเด็จหม่อมเจ้าหญิง. (2516). พระราชบันทึกทรงเล่า. เบื้องแรกประชาธิปไตย บันทึกความทรงจำของผู้อยู่ในเหตุการณ์ สมัย พ.ศ. 2475-2500. สมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย.

วิจิตรวาทการ, พลตรี หลวง. (2475). การเมืองการปกครองของกรุงสยาม. พระนคร : ไทยใหม่.

วีรชน เกษสกุล และวัชรพล พุทธรักษา. (2565). “การจัดวางความคิดทางการเมือง: แนวทางการวิเคราะห์การก่อตัวทางสังคมของกลุ่มคณะราษฎร” วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, 16(2): 1-13.

วีรชน เกษสกุล และศิรวิชญ์ จามพัฒน์. (2565). “จาก “คณะราษฎร 2475” ถึง “คณะราษฎร 2563”: ร่องรอยของแนวความคิด #ให้มันจบที่รุ่นเรา” รัฐศาสตร์พิจาร, 9(17): 1-25.

สมเกียรติ วันทะนะ. (2533). ใน นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. ความคิดความรู้และอำนาจในการปฏิวัติสยาม 2475. กรุงเทพมหานคร: เอดิสัน เพรส.

สมุทวณิช และกนก วงษ์ตระหง่าน. (2526). ภาษากับการเมือง. กรุงเทพมหานคร: เจ้าพระยาการพิมพ์

สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ. (2532). ขบวนการเสรีไทยกับความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศไทยระหว่าง พ.ศ. 2481-2492. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

_________. (2555). เสรีไทยตำนานใหม่ของขบวนการเสรีไทยเรื่องราวของการต่อสู้เพื่อเอกราช สันติภาพ และประชาธิปไตยอย่างแท้จริง. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ศรีบูรณ์คอมพิวเตอร์ การพิมพ์.

สภาผู้แทนราษฎร. (2475). รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 1/2475. กรุงเทพมหานคร.

สภาผู้แทนราษฎร. (2476). รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 1/2476. กรุงเทพมหานคร.

สภาผู้แทนราษฎร. (2483). รายงานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 8/2483. กรุงเทพมหานคร.

สุชิน ตันติกุล. (2557). รัฐประหาร พ.ศ. 2490. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน.

สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. (2551). สายธารประวัติศาสตร์ประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์พี เพรส

_________. (2553). แผนชิงชาติไทย ว่าด้วยรัฐและต่อต้านรัฐ สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ครั้งที่สอง (พ.ศ. 2491-2500) พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : พีเพรส.

สุพจน์ ด่านตระกูล. (ม.ป.ป). ความรับผิดชอบของคณะราษฎร. นนทบุรี: สถาบันวิทยาศาสตร์สังคม.

เสทื้อน ศุภโสภณ. (2535). ชีวิตและการต่อสู้ของพระยาทรงสุรเดช. กรุงเทพมหานคร: คณะอนุกรรมการจัดพิมพ์หนังสือ โครงการ ๖๐ ปี ประชาธิปไตย.

หจช.(2) สร.0202.35/26 บัญชีรายนามและตำแหน่งหน้าที่ราชการของผู้ก่อการฯ 24 มิ.ย. 2475

หลวงโหมรอญราญ. (2520). ชีวประวัติของข้าพเจ้า. อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พันตำรวจโท หลวงโหมรอนราญ. กรุงเทพมหานคร: บุญส่งการพิมพ์.

Gramsci, A. (1971). In Hoare, Q. & Smith, D. N. (Eds. & Trans.). Selections from the Prison Notebooks of Antonio Gramsci. London : Lawrenece Wishart.