Characteristics and practices of industrial crafts design in japan and differences from Thailand

Main Article Content

Kittipong Keativipak

Abstract

The concept of industrial crafts design in Japan includes some practices with similarities to Thailand, with lifestyle and environmental coexistence comprising natural abundance and skill at using natural resources to create interesting products. Both cultures offer clear, distinctive, unique identities that express the Asian continent, including roots and ancestral wisdom expressly molded in handicraft products. These were designed and developed to suit lifestyles in all societal and cultural sectors. This article describes the concept and the performance characteristics of Japanese handicrafts. Concepts and conditions for developing industrial crafts include comparing and contrasting the style and behavior of Japan and Thailand for differences and likenesses

Article Details

Section
บทความวิจัย
Author Biography

Kittipong Keativipak, Faculty of fine and applied art, Thammasat university

 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติพงษ์  เกียรติวิภาค

 สาขาวิชาออกแบบหัตถอุตสาหกรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์

 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง  248 หมู่ 2 ถ.ลำปาง - เชียงใหม่ ต.ปงยางคก อ.ห้างฉัตร จ. ลำปาง

งานวิจัย (Researches)

งานวิจัยเดี่ยว (Solo Researches)

1) การศึกษาและพัฒนาการนำเอาเส้นใยพืชผักตบชวามาประยุกต์เข้ากับการดุนลายอลูมิเนียมเพื่อนำมา
   ออกแบบเครื่องเรือนในสไตล์ล้านนา                                                                                              

   แหล่งทุน: กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2552

2) การศึกษาและพัฒนา การนำผ้าฝ้ายทอมือ มาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์       
    กรณีศึกษา: กลุ่มหมู่บ้านผ้าฝ้ายทอมือบ้านดอนหลวง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน  

    แหล่งทุน: กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2555                                           

3) การพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรมไม้แกะสลักและอัตลักษณ์แบรนด์เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ

    กรณีศึกษา หมู่บ้านแกะสลักบ้านหลุก ต.นาครัว อ.แม่ทะ จ.ลำปาง  

    แหล่งทุน:  สำนักงานจังหวัดลำปาง ประจำปีงบประมาณ 2557

4) โครงการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรม จากการผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นที่
    หลากหลาย เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ / Design and Development Industrial Crafts Products
    from integration of local wisdom for Increasing Economic Values

    แหล่งทุน: “ทุนพัฒนานักวิจัยสู่ตำแหน่งวิชาการเพื่อชุมชนและสังคม” ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง  
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และมูลนิธิมั่นพัฒนา ประจำปี 2561

5) โครงการผลิตภัณฑ์ OTOP คลัสเตอร์อาหารแปรรูปผลิตภัณฑ์กาละแมและข้าวแต๋น โดยโรงเรียน OTOP  

   แหล่งทุน: งบประมาณจากจังหวัดลำปางโดยสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดลำปาง, พฤศจิกายน 2562

6) โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาสู่สากล ภายใต้โครงการพัฒนา
   ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาสู่สากล (Phase 1)

   แหล่งทุน : ศูนย์วิจัยและพัฒนาวัสดุอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

   ประจำปีงบประมาณ 2564

7) เอกสารประกอบการอบรม เพื่อค้นหา ประชุม และกำหนดทิศทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรม
   ในรูปแบบใหม่ ตามกิจกรรม : ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรม จากการผสมผสานภูมิ
   ปัญญาท้องถิ่นที่หลากหลายเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจภายใต้โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์อัตลักษณ์ชุมชนเชิง
   สร้างสรรค์สู่ตลาดสากล

    แหล่งทุน : โครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของจังหวัดลำปาง

8) โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาสู่สากล ภายใต้โครงการพัฒนา

   ผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาสู่สากล (Phase 2)

   แหล่งทุน : ศูนย์วิจัยและพัฒนาวัสดุอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

   ประจำปีงบประมาณ 2564

งานวิจัยกลุ่ม (Group Researches)

1) “งานวิจัยไทบ้าน” โครงการ การส่งเสริมงานวิจัยไทบ้านเพื่อพัฒนางานหัตถกรรมจากใบหญ้าแฝก ในหัวข้อ   
   เรื่อง โครงการออกแบบโคมไฟเพื่อการตกแต่งโดยใช้หญ้าแฝกผสมผสานกับวัสดุในท้องถิ่น    

   แหล่งทุน: โครงงานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจากการประกวดการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอัน 
   เนื่องมาจากพระราชดำริ ปี 2552 บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน)     

2) การพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยใช้วัสดุเศษหินอันเกิดจากกระบวนการผลิตครกหินเพื่อการส่งเสริมการพัฒนา
    ผลิตภัณฑ์, เศรษฐกิจ, สังคม, คุณภาพชีวิต, และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด:          
    กรณีศึกษา ชุมชนบ้านไร่ศิลาทอง ต.พิชัย อ.เมือง จ.ลำปาง

    แหล่งทุน: งบแผ่นดิน แผนงานบริหารจังหวัด จังหวัดลำปาง 2554

3) โครงการเปิดตลาดสู่ภูมิภาคอาเซียน การอบรมพัฒนาผู้ประกอบการ OTOP ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ 
    และเพิ่มช่องทางการตลาดอาเซียน

    แหล่งทุน: โครงการกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 (สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดแม่ฮองสอน)

    ประจำปีงบประมาณ 2558

 

บทความในวารสารวิชาการ (Articles)

 

บทความวิชาการ (Academic Article)  

1) ผักตบชวาสู่การออกแบบเครื่องเรือน / ศิลปกรรมสาร วารสารวิชาการคณะศิลปกรรมศาสตร์   
    มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 พ.ศ.2554      

2) การดุนลายอลูมิเนียมสู่แนวทางการออกแบบผลิตภัณฑ์ / ศิลปกรรมสาร วารสารวิชาการคณะศิลปกรรม

   ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 พ.ศ.2556     

3) ศิลปวัฒนธรรมในประเทศกัมพูชา / ชุดองค์ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน ชุดที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมในกลุ่ม 
   ประเทศอาเซียนและญี่ปุ่น (ศูนย์ศึกษาวัฒนธรรมอาเซียน+1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง /        
   ตีพิมพ์เมื่อ มกราคม พ.ศ. 2558                            

4) ศิลปวัฒนธรรมในประเทศญี่ปุ่น / ชุดองค์ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน ชุดที่ 4 ศิลปวัฒนธรรมในกลุ่มประเทศ
   อาเซียนและญี่ปุ่น (ศูนย์ศึกษาวัฒนธรรมอาเซียน+1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง / ตีพิมพ์เมื่อ   
   มกราคม พ.ศ. 2558                            

5) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยใช้วัสดุเศษหินอันเกิดจากกระบวนการผลิตครกหิน เพื่อส่งเสริมการพัฒนา    
    ผลิตภัณฑ์เศรษฐกิจ  สังคม  คุณภาพชีวิต และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด     
    (กรณีศึกษาชุมชนบ้านไร่ศิลาทอง ต.พิชัย อ.เมือ จ.ลำปาง)
/ ศิลปกรรม วัฒนธรรม และการออกแบบ  

    ครั้งที่ 2 (วารสารมหาวิทยาลัยขอนแก่น) / ตีพิมพ์เมื่อ มิถุนายน พ.ศ. 2559    

6) การพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรมไม้แกะสลัก เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ กรณีศึกษา หมู่บ้าน 
   แกะสลักบ้านหลุก ต.นาครัว อ.แม่ทะ จ.ลำปาง
/ ศิลปกรรม วัฒนธรรม และการออกแบบ ครั้งที่ 2   
   (วารสารมหาวิทยาลัยขอนแก่น) / ตีพิมพ์เมื่อ มิถุนายน พ.ศ. 2559    

7) การศึกษาและพัฒนาการนำเอาเส้นใยพืชผักตบชวามาประยุกต์เข้ากับการดุนลายอลูมิเนียม เพื่อนำมา    
   ออกแบบเครื่องเรือนในสไตล์ล้านนา
/ ศิลปกรรม วัฒนธรรม และการออกแบบ ครั้งที่ 2

   (วารสารมหาวิทยาลัยขอนแก่น) / ตีพิมพ์เมื่อ มิถุนายน พ.ศ. 2559    

8) เทคนิคการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ Connoisseurship Technique in Design  /

   วารสาร Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social sciences

   มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล  สงคราม ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 / ตีพิมพ์เมื่อ กรกฎาคม พ.ศ. 2560  

9) พัฒนาด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์โดยใช้กรอบแนวคิดการออกแบบหัตถอุตสาหกรรม Industrial    
   Crafts Design
Framework (Grow-Reborn) / วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

   ปีที่ 9 ฉบับที่ 2  / ตีพิมพ์เมื่อ ตีพิมพ์เมื่อ กรกฎาคม พ.ศ. 2560    

10) ออกแบบหัตถอุตสาหกรรม (กวม) / วารสารสหวิทยาการ วิทยาลัยสหวิทยาการ
     มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 / ตีพิมพ์เมื่อ ตุลาคม พ.ศ. 2561     

11) แนวคิดการนำมิติทางวัฒนธรรมสู่การออกแบบสร้างสรรค์ที่สับสน /วารสารสถาบันวัฒนธรรมและ  
     ศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ  ปี่ที่ 21 ฉบับที่ 2 ตีพิมพ์เมื่อ มกราคม พ.ศ. 2563   

 

บทความวิจัย (Research Article)

1) การศึกษาและพัฒนาการนำเอาเส้นใยพืชผักตบชวามาประยุกต์เข้ากับการดุนลายอลูมิเนียมเพื่อนำมา 
   ออกแบบเครื่องเรือนในสไตล์ล้านนา
/ ศิลปกรรมสาร วารสารวิชาการคณะศิลปกรรมศาสตร์   
   มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 พ.ศ.2554    

2) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยใช้วัสดุเศษหินอันเกิดจากกระบวนการผลิตครกหิน เพื่อส่งเสริมการพัฒนา
   ผลิตภัณฑ์ เศรษฐกิจ สังคม คุณภาพชีวิต และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด    
   (กรณีศึกษาชุมชนบ้านไร่ศิลาทอง ต.พิชัย อ.เมือ จ.ลำปาง)
/ หน้า 1-53 ศิลปกรรมสาร วารสารวิชาการ  
   คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 10 เล่มที่ 1 2558

3) การพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรมไม้แกะสลัก เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ กรณีศึกษา หมู่บ้าน 
   แกะสลักบ้านหลุก ต.นาครัว อ.แม่ทะ จ.ลำปาง
/ หน้า 19-69  ศิลปกรรมสาร วารสารวิชาการคณะ 
   ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ปีที่ 10 เล่มที่ 2 2558

4) การศึกษาและพัฒนาการนำผ้าฝ้ายทอมือ มาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์   
   กรณีศึกษากลุ่มหมู่บ้านผ้าฝ้ายทอมือบ้านดอนหลวง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
/ ศิลปกรรมสาร   
   วารสารวิชาการคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 11 เล่มที่ 1 2559 

5) Study of Paradigm and Theories that are Factors Influencing the Development and  
   Creation of Industrial Crafts Products in Thailand
/ Mediterranean Journal of Social    
   Sciences (Italy) / Vol 10 No 5 September 2019.    

6) Principles of Thought to Adopt Cultural Dimension Into Creative Design in Thailand /
   Revista Espacios Journal (Venezuela) / Vol. 41(31) August 2020.

7) ตัวอย่างมิติทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญา เพื่อนำเข้าสู่การออกแบบสร้างสรรค์ Example of Cultural 
   Dimensions and Local Wisdom to Creative Design Concepts
/ วารสารมนุษยศาสตร์และ
   สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี หน้า 18-35  ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563)  

8) การศึกษาแนวคิดบูรณาการมิติทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาชุมชน เพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถ
   อุตสาหกรรม
A Study Cultural Dimension and local Wisdom for Industrial Crafts Design
   / วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น  ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2564

9) การศึกษาปัจจัยและเงื่อนไขการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถอุตสาหกรรม สำหรับโครงการหนึ่งตำบลหนึ่ง
   ผลิตภัณฑ์ (
OTOP) ในประเทศไทย กรณีศึกษา : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของจังหวัดลำปาง The Study
   of Factors and Conditions for the Development of Industrial Crafts Products for the
   One Tambon One Product (OTOP) project in Thailand.
Case Study : Products
  development of Lampang Province.
/ วารสารวิชาการศิลปะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย
  นเรศวร  ปที่ 12 ฉบับที่ 2 มิถุนายน – ธันวาคม 2564

References

พิพาดา ยังเจริญ. (2535). ประวัติอารยธรรมญี่ปุ่น History of Japanese Civilzation. โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บริษัทดวงกมลสมัย จำกัด. (2546). หน้าต่างสู่โลกกว้างญี่ปุ่น. พิมพ์ครั้งที่3. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์หน้าต่างสู่โลกกว้าง จำกัด.

ธนิก เลิศชาญฤทธ์. (2559). การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน).

วราวุธ สุวรรณฤทธิ์และคณะ. (2549). วิถีไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์อินเดียนสโตร์.

อานนท์ อาภาภิรม. (2525). ลักษณะสังคมและปัญหาสังคมไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์อินเดียนสโตร์.

เอกวิทย์ ณ.ถลาง. (2544). ภูมิปัญญาชาวบ้านกับกระบวนการเรียนรู้และปรับตัวของชาวบ้านไทย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์

อมรินทร์.

ข้อมูลการบรรยายของ อรสา จิรภิญโญ. สืบสานผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาและวัฒนธรรมสู่ความร่วมสมัย,เรื่องน่าเรียนรู้จากญี่ปุ่น.

วันที่ 24 พฤศจิกายน 2563 เวลา 09.00 – 14.00 น ห้อง 7310 อาคารเรียนรวม 5 ชั้น อาคารบุญชูปนิธาน

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง.

ข้อมูลการบรรยายของ The agency for cultural affairs of Japan, ministry of education, science, sports and culture.

วันที่ 13 ธันวาคม 2560 เวลา 09.00 – 12.00 น. กระทรวงวัฒนธรรม กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น.