การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อบรรเทาอาการบาดเจ็บกล้ามเนื้อแขนและข้อมือ

Main Article Content

ประภาพร กองทองดี
รัฐไท พรเจริญ
ชาคร ผาสุวรรณ

Abstract

วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ เพื่อเข้าไปมีส่วนช่วยเหลือการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ที่มารับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพกับหน่วย กิจกรรมบำบัด เนื่องจากมีผู้รับบริการมีอยู่จำนวนมากที่มีรายได้น้อยและบางรายไม่สามารถเบิกคารักษาพยาบาลได้ รวมทั้งการ ประดิษฐ์อุปกรณ์ดามมีราคาค่อนข้างสูง จากจุดนี้เองทำให้ผู้วิจัยเกิดแนวความคิดในการนำวัสดุทดแทนมาพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ เพื่อช่วยเหลือผู้รับบริการกลุ่มนี้ โดยได้ตั้งแนวทางในการทำวิจัยไว้ 4 ส่วนคือ 1) เพื่อศึกษาปัจจัย ในการตัดสินใจใช้อุปกรณ์ดามที่ ช่วยในการบรรเทาอาการบาดเจ็บกล้ามเนื้อแขนและข้อมือ 2) เพื่อศึกษาวัสดุทดแทนในประเทศ เพื่อนำมาออกแบบ พัฒนาอุปกรณ์ที่ เหมาะสมกับผู้รับบริการ 3) เพื่อศึกษาคุณภาพของอุปกรณ์ดามและความพึงพอใจของผู้รับการบำบัดในการใช้อุปกรณ์ดามบรรเทา อาการบาดเจ็บกล้ามเนื้อแขนและข้อมือที่ได้ทำการออกแบบขึ้นเพื่อศึกษาผลของการใส่อุปกรณ์ดามขณะทำกิจกรรมในเวลากลางวัน ต่อความสามารถในการทำกิจกรรมดูแลตนเองในกลุ่มผู้ทดลองตัวอย่างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง จำนวน 30 คน ให้กลุ่มผู้ทดลองใส่อุปกณ์ ดามในเวลากลางวัน เป็นเวลา 10-20 นาที เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วย อุปกรณ์ดามที่ดัดขึ้นรูปจากแผ่นเทอร์โม พลาสติก ที่เมื่อได้รับความร้อนจะอ่อนตัว และเมื่อเย็นลงจะแข็งตัว มีลักษณะขุ่น เป็นพลาสติกที่ไอน้ำสามารถซึมผ่านได้เล็กน้อยและ ใช้ผ้าสแปนเด็กซ์ในการรองรับการเสียดสีของผิวสัมผัสโดยใช้แบบทดสอบการทำกิจกรรมด้านการดูแลตนเอง สถิติที่ใช้คือ ค่าความถี่ และค่าร้อยละ ผลการทดลองพบว่า ก่อนใส่อุปกรณ์ดามผู้ทดลองมีความสามารถในด้านการดูแลตนเองไม่ค่อยสะดวกเท่าที่ควร หลัง การทดลอง ผู้รับการทดลองในกลุ่มที่ใส่อุปกรณ์ดามมีความสามารถดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในกิจกรรมการรับประทานอาหาร และการหยิบจับสิ่งของรอบกายผลการศึกษาวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าการจัดทำอุปกรณ์ดามมือที่ใช้วัสดุทดแทนในประเทศให้ผู้รับการ บริการที่หน่วยกิจกรรมบำบัดให้ผู้ที่มีอาการเจ็บกล้ามเนื้อแขนและข้อมือ เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการรักษาด้านด้านการฟื้นฟู สมรรถภาพ

 

Splinting Design for Relieving Carpal Tunnel Syndrome

The purpose of this research . Contributing to the improvement of quality of life to those who receive rehabilitation services with occupational therapy unit . Since there are many patients who are low income and can not be reimbursed for some medical attention . The invention includes a device handle of a relatively high price . From this point , the researcher makes the concept of renewable materials to develop a product to help this group of patients . By the way in research into four parts: 1 ) to examine factors . In deciding to use a device that helps to alleviate injury splint arms and wrists 2) Study material reward in the country. By the design . Developed to suit the clients 3 ) to study the quality of the equipment , and the satisfaction of Notre Dame Notre Dame, the new devices have been designed to study the effects of splinting devices while doing activities during the day. The ability to self-care activities among the specific examples, how experimental group of 30 students to put devices in the daytime splint for 10 to 20 minutes each that apply. Thermo plastic sheet . The heat will soften . And hardens when cooled down to a thick plastic vapor permeability was negligible. And spandex fabric to accommodate the friction surface . And tests for self-care activities . Statistics used. Frequency, percentage, Mann-Whitney U test results showed that Before the experiment devices splice has the ability to care for themselves much less convenient posttest the experimental group were able to splice equipment has improved significantly in dining activities . And handling objects around results from this Showed that the preparation hand splint devices . Renewable materials are used in the country. The recipient of the Big River to the occupational therapy unit for people with sore arms and wrists. As an alternative treatment of the field of rehabilitation.

Article Details

Section
บทความวิจัย