ผลการรับรู้ของผู้บริโภคที่มีต่อการออกแบบโครงสร้างและกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์เครื่องสำอางสมุนไพรไทย Effects of Consumers’ Perception of Structure and Graphic Designs upon Thai Herbal Cosmetic Packages

Main Article Content

ชมจันทร์ ดาวเดือน
เกษร ธิตะจารี
นิรัช สุดสังข์
ศุภรัก สุวรรณวัจน์

Abstract

การวิจัยเรื่องนี้มีจุดประสงค์ เพื่อออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์และกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ เครื่องสำอางสมุนไพร
ไทย ทั้ง 5 ประเภท ได้แก่ สะอาดผิวกาย บำรุงและดูแลผิวกาย สะอาดผิวหน้า บำรุงและดูแลผิวหน้า และรักษาเส้นผม และเพื่อ
ประเมินผลการรับรู้ที่มีต่อโครงสร้างและกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์เครื่องสำอางสมุนไพรไทยในด้าน เพศ อายุ และระดับรายได้ จาก
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักออกแบบ ผู้ประกอบการ และผู้บริโภค รวมจำนวน 415 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่
แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (  ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) T-Test
independent และ One-Way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า การออกแบบโครงสร้างและกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์เครื่องสำอางสมุนไพร
ไทย ทั้ง 5 ประเภท ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ด้านโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ทั้ง 5 ประเภท คือ ทำความสะอาด
ผิวกาย(ขนาด 300 มล.) ได้รูปแบบ 2 (  = 4.09) บำรุงและรักษาผิวกาย (ขนาด300 มล.) ได้รูปแบบ 2 (  =
4.27) ทำความสะอาดผิวหน้า(ขนาด 250 มล.)ได้รูปแบบ 4 (  = 4.30) บำรุงและรักษาผิวหน้า(ขนาด 150
มล.) ได้รูปแบบ 4 (  = 3.99) และรักษาเส้นผม (ขนาด 300 มล.)ได้รูปแบบ 4 (  = 3.98) ส่วนที่ 2 ด้านกราฟิก
บนบรรจุภัณฑ์ ทั้ง 5 ประเภท คือ ทำความสะอาดผิวกายได้รูปแบบ 3 (  = 4.22) บำรุงและรักษาผิวกายได้
รูปแบบ 3 (  = 3.92)ทำความสะอาดผิวหน้าได้รูปแบบ 1 (  = 4.22) บำรุงและรักษาผิวกายได้รูปแบบ 3
(  = 3.92) บำรุงและรักษาผิวหน้าได้รูปแบบ 1 (  = 4.02) และรักษาเส้นผมได้รูปแบบ 2 (  = 3.91) และส่วน
ที่ 3 ผลการรับรู้ของผู้บริโภค ด้านเพศ พบว่า เพศต่างกันผลการรับรู้ไม่แตกต่างกัน ยกเว้นเครื่องสำอางบำรุงและรักษาเส้นผมมี
ผลการรับรู้ต่างกัน ด้านอายุ พบว่า อายุของผู้บริโภคผลการรับรู้ต่างกัน และด้านรายได้ พบว่า รายได้ของผู้บริโภคผลการรับรู้
ต่างกัน

 

The aim of this research was design containers’ structure and graphics on packages
of five types of Thai Herbal Cosmetics; Skin Care Products, Skin Nourishing Products, Facial
Cleansing Products, Facial Treatment Products and Hair Care Products. To Assess The effects
of consumers’ perception of the structure and graphics on packages of Thai herbal
cosmetics in terms of gender; age and income. The sample Included 415 designers,
entrepreneurs and consumers. The research instruments were Interview Forms and
Questionnaires. Statistics used in the research were Percentang, Means (  ) , Standard
Deviation (S.D.), T-test and ONE-WAY ANOVA. The research findings are as follows; Structural Designs and
Graphics on packages of the five types of Thai Herbal Cosmetics comprised of three parts. Part One:
structure of five types of packages was: Skin Care Products (300 ml.) pattern 2 (  = 4.09), Skin
Nourishing Products (300 ml.) pattern 2 (  = 4.27), Facial Cleansing Products (250 ml.)
pattern 4 (  = 4.30), Facial Treatment Products (150 ml.)pattern 4 (  = 3.99) and Hair Care
Products (300 ml.) pattern 4 (  = 3.98). Part Two: Graphics on five types of packages were: Skin
Care Products: pattern 3 (  = 4.22), Skin Nourishing Products: pattern 3 (  = 3.92, Facial
Cleansing Products: pattern 1 (  = 4.22), facial treatment products: pattern 1 (  = 4.02) and
hair care products: pattern 2 (  = 3.91). Part Three: Gender of Consumers. the sexual
results of consumers found that the difference of sex is not related, except hair care
products cosmetics that has Perception difference. Age: people had different perception.
Income: people had different perception.

Article Details

Section
บทความวิจัย