วิเคราะห์เสรีภาพในทรรศนะของคาร์ล มาร์กซ์
คำสำคัญ:
เสรีภาพ, ทรรศนะ, คาร์ล มาร์กซ์บทคัดย่อ
บทความเรื่องนี้เป็นการศึกษาอัตชีวประวัติของคาร์ล มาร์กซ์ เสรีภาพในทรรศนะของคาร์ล มาร์กซ์ และวิเคราะห์เสรีภาพในทรรศนะของคาร์ล มาร์กซ์ สรุปว่า เสรีภาพในทัศนะของคาร์ล มาร์กซ์ เป็นเสรีภาพส่วนบุคคลแท้จริง ก่อให้เกิดความเสมอภาพและความเจริญก้าวหน้าในสังคม เสรีภาพมีส่วนในการกาหนดชั่วโมงทำงาน เพื่อให้คนมีเวลาเท่าเทียมกันในการแสวงหาความเพลิดเพลิน เสรีภาพจึงเป็นหลักสาคัญขั้นพื้นฐานของศีลธรรม และเป็นหลักการที่สาคัญในจริยศาสาสตร์ของคาร์ล มาร์กซ์
References
กีรติ บุญเจือ. (2522). ปรัชญาลัทธิอัตถิภาวนิยม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิช.
ชเอิญศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา. (2539). ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. (2539). ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2538). ปรัชญาแห่งอุดมการณ์ทางการเมือง.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ราชบัญฑิตยสถาน. (2540). พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.
สถิต วงศ์สวรรค์. (2540). ปรัชญาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรพิทยา.
สุวรรณ เพชรนิล. (2534). ปรัชญาอินเดียร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
อดิศักดิ์ ทองบุญ. (2540). ปรัชญาอินเดียร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ชเอิญศรี อิศรางกูร ณ อยุธยา. (2539). ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์. (2539). ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2538). ปรัชญาแห่งอุดมการณ์ทางการเมือง.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ราชบัญฑิตยสถาน. (2540). พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.
สถิต วงศ์สวรรค์. (2540). ปรัชญาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรพิทยา.
สุวรรณ เพชรนิล. (2534). ปรัชญาอินเดียร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
อดิศักดิ์ ทองบุญ. (2540). ปรัชญาอินเดียร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
30-06-2016
How to Cite
ฉบับ
บท
บทความวิชาการ