บรรทัดฐานใหม่ของสังคมสารสนเทศเพื่อธรรมาภิบาล
The New Paradigm of the Information Society for Good Governance
คำสำคัญ:
บรรทัดฐานใหม่, สังคมสารสนเทศ, ธรรมาภิบาลบทคัดย่อ
บทความเรื่องนี้ สรุปได้ว่า บรรทัดฐานใหม่ของสังคมสารสนเทศเพื่อธรรมาภิบาลจะต้องคำนึงถึงความพอเพียงและการมีส่วนร่วมระดับฉันทามติของคนทั้งชาติจึงจะเกิดความยั่งยืน ประเทศจะต้องพัฒนาในการใช้สื่อสารสนเทศอย่างรู้เท่าทันและสร้างสรรค์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นรากฐานปรัชญาที่ดีสำหรับการกำหนดบรรทัดฐานใหม่ ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมและเท่าทันยุคดิจิทัลที่ก้าวมาถึงกระบวนทรรศน์หลังนวยุคสายกลางที่ทุกชีวิตมีคุณค่า
References
กีรติ บุญเจือ. (2545). ชุดปรัชญาและศาสนาเซนต์จอห์น เล่มต้น เริ่มรู้จักปรัชญา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น.
กีรติ บุญเจือ. (2551). คู่มือจริยศาสตร์ตามหลักวิชาการสากล. กรุงเทพฯ: เชน ปริ้นติ้ง.
กีรติ บุญเจือ. (2555). “ปัญหาและทางแก้เกี่ยวกับการอบรมคุณธรรมจริยธรรม (รวมศีลธรรม) ในประเทศไทยจากมุมมองของแซมมวล ฮันทิงทัน”. รายงานการวิจัย, กรุงเทพฯ: คณะกรรมาธิการคุณธรรม จริยธรรม ศาสนา และวัฒนธรรม วุฒิสภา.
กีรติ บุญเจือ. (2557). “ปัญหาและแนวทางแก้เกี่ยวกับการอบรมคุณธรรมจริยธรรมที่จะต้องตระหนักเมื่อดำเนินการกับผู้เรียนระดับปริญญาตรี”. รายงานการวิจัย, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
กีรติ บุญเจือ. รวิช ตาแก้ว, อเนก สุวรรณบัณฑิต, เมธา หริมเทพาธิป, พงศ์สีห์ ชุมสาย ณ อยุธยา, วราภรณ์ พงศ์ธรพิสุทธิ์, (2558). สารานุกรมปรัชญาสู่ประชาชนคนทำดีมีสุข, ทุนจาก สกว.
กีรติ บุญเจือ. รวิช ตาแก้ว, อเนก สุวรรณบัณฑิต, สิริกร อมตวาริน, เมธา หริมเทพาธิป. (2558). ความเป็นหลังนวยุคของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. ทุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
กีรติ บุญเจือ. (2559). ปรัชญาที่อยู่เบื้องหลังพระบรมราโชวาท. ใน รวิช ตาแก้ว/ (บก.), ประเทศไทยกับธรรมาภิบาลด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (หน้า 229-46). กรุงเทพฯ : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์.
กีรติ บุญเจือ. (2559). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. วารสาร อปท. ตอนที่ 13. สืบค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม 2559. จาก https://thamdimisukh.wordpress.com/
กรอบแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. สารานุกรมในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน), สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2557 จาก http://www.haii.or.th/wiki84/index.php/พระราชดำรัสเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ชัยโรจน์ นพเฉลิมโรจน์. (2558). “หลักคุณภาพในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริกับประปรัชญาหลังนวยุค การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน”. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ชัยโรจน์ นพเฉลิมโรจน์. (2559). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หัวใจแห่งคุณภาพในหลักทรงงาน. ใน รวิช ตาแก้ว/ (บก.), ประเทศไทยกับธรรมาภิบาลด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (หน้า 181-191). กรุงเทพฯ: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์.
ตรี บุญเจือ. (2558). คนพิการกับการเข้าถึงเทคโนโลยีสื่อสารด้านกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ตรี บุญเจือ. (2559). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการเข้าถึงสื่อของผู้บริโภค. ใน รวิช ตาแก้ว/ (บก.), ประเทศไทยกับธรรมาภิบาลด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (หน้า 229-246). กรุงเทพฯ: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2545). ธรรมาภิบาลในองค์กรอิสระ. เอกสารประกอบคำบรรยาย 8 มิถุนายน 2545. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
เมธา หริมเทพาธิป. (2557). “เกณฑ์ตัดสินความจริงตามหลักกาลามสูตร : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน”. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
เมธา หริมเทพาธิป. (2559). ญาณปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. ใน รวิช ตาแก้ว/ (บก.), ประเทศไทยกับธรรมาภิบาลด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (หน้า 73-87). กรุงเทพฯ: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์.
เมธา หริมเทพาธิป. และ เอนก สุวรรณบัณฑิต. (2559). พัฒนาอย่างพอเพียงด้วยการมีส่วนร่วมเพื่อธรรมาภิบาล. ใน รวิช ตาแก้ว/ (บก.), ประเทศไทยกับธรรมาภิบาลด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (หน้า 207-27). กรุงเทพฯ: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์.
รวิช ตาแก้ว. (2557). “ความหมายของคำ "ดีงาม" ในบริบทวัฒนธรรมไทย” : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน”. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
รวิช ตาแก้ว. (2559). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะอภิปรัชญาของปรัชญาหลังนวยุคสายกลาง. ใน รวิช ตาแก้ว/ (บก.), ประเทศไทยกับธรรมาภิบาลด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (หน้า 61-72). กรุงเทพฯ: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์.
วราภรณ์ พงศ์ธรพิสุทธิ์. (2559). ปรัชญาพอเพียงบนหลักธรรมภิบาลของไทย. ใน รวิช ตาแก้ว/ (บก.), ประเทศไทยกับธรรมาภิบาลด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (หน้า 153-76). กรุงเทพฯ: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์.
สิริกร อมฤตวาริน. (2558). “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับความสุขแท้ตามความเป็นจริง : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน”. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
สิริกร อมฤตวาริน. (2559). หลักเมตตาเพื่อปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. ใน รวิช ตาแก้ว/ (บก.), ประเทศไทยกับธรรมาภิบาลด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (หน้า 107-24). กรุงเทพฯ: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์.
สุวัฒน์ วิวัฒนานนท์. (2550). การศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: ซี.ซี. นอลลิดจ์ลิงค์.
เอนก สุวรรณบัณฑิต, กีรติ บุญเจือ. (2558). สังคมบนฐานความรู้กับสันติภาพ. รมยสาร, 13 (2): 149-59.
เอนก สุวรรณบัณฑิต. (2559). ความรุ่งเรืองแห่งรัฐกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. ใน รวิช ตาแก้ว/ (บก.), ประเทศไทยกับธรรมาภิบาลด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (หน้า 197-206). กรุงเทพฯ: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์.
Andrew Belsey & Ruth Chadwick, (1992). Ethical Issues in Journalism and the Media. London and New York.
Aristotle. (1988). Politics. translated by E. Barker. Oxford University Press.
Best, S. and Kellner, D. (1999). Postmodern Theory. New York: The Guilford Press.
Bauman, Z. (1996). Postmodern ethics. Cambridge: Blackwell.
Comete, A. (1912). Systéme de politique positive. 4 Vol., 4th ed. Paris: Crès.
Derrida, Jacques. (1982). Margins of philosophy. translated by Alan Bass. Brighton: The Harvester Press.
Foucault, M. (1991). “Politics and the Study of Discourse.” The Foucault Effect: Studies in Governmentality. Ed. Graham Burchell, Colin Gordon, and Peter Miller. Chicago: U Chicago P.
Ranciére, J. (1992). “Politics, Identification, and subjectivization” October Vol. 61 (Summer 1992).
Ward, G. (2003). Postmodernism. Chicago: Contemporary Books.
Wilhelm, D. (1976). Selected Writing. Cambridge: Cambridge University Press.
กีรติ บุญเจือ. (2551). คู่มือจริยศาสตร์ตามหลักวิชาการสากล. กรุงเทพฯ: เชน ปริ้นติ้ง.
กีรติ บุญเจือ. (2555). “ปัญหาและทางแก้เกี่ยวกับการอบรมคุณธรรมจริยธรรม (รวมศีลธรรม) ในประเทศไทยจากมุมมองของแซมมวล ฮันทิงทัน”. รายงานการวิจัย, กรุงเทพฯ: คณะกรรมาธิการคุณธรรม จริยธรรม ศาสนา และวัฒนธรรม วุฒิสภา.
กีรติ บุญเจือ. (2557). “ปัญหาและแนวทางแก้เกี่ยวกับการอบรมคุณธรรมจริยธรรมที่จะต้องตระหนักเมื่อดำเนินการกับผู้เรียนระดับปริญญาตรี”. รายงานการวิจัย, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
กีรติ บุญเจือ. รวิช ตาแก้ว, อเนก สุวรรณบัณฑิต, เมธา หริมเทพาธิป, พงศ์สีห์ ชุมสาย ณ อยุธยา, วราภรณ์ พงศ์ธรพิสุทธิ์, (2558). สารานุกรมปรัชญาสู่ประชาชนคนทำดีมีสุข, ทุนจาก สกว.
กีรติ บุญเจือ. รวิช ตาแก้ว, อเนก สุวรรณบัณฑิต, สิริกร อมตวาริน, เมธา หริมเทพาธิป. (2558). ความเป็นหลังนวยุคของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. ทุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
กีรติ บุญเจือ. (2559). ปรัชญาที่อยู่เบื้องหลังพระบรมราโชวาท. ใน รวิช ตาแก้ว/ (บก.), ประเทศไทยกับธรรมาภิบาลด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (หน้า 229-46). กรุงเทพฯ : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์.
กีรติ บุญเจือ. (2559). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. วารสาร อปท. ตอนที่ 13. สืบค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม 2559. จาก https://thamdimisukh.wordpress.com/
กรอบแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. สารานุกรมในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน), สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2557 จาก http://www.haii.or.th/wiki84/index.php/พระราชดำรัสเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ชัยโรจน์ นพเฉลิมโรจน์. (2558). “หลักคุณภาพในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริกับประปรัชญาหลังนวยุค การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน”. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ชัยโรจน์ นพเฉลิมโรจน์. (2559). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หัวใจแห่งคุณภาพในหลักทรงงาน. ใน รวิช ตาแก้ว/ (บก.), ประเทศไทยกับธรรมาภิบาลด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (หน้า 181-191). กรุงเทพฯ: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์.
ตรี บุญเจือ. (2558). คนพิการกับการเข้าถึงเทคโนโลยีสื่อสารด้านกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ตรี บุญเจือ. (2559). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการเข้าถึงสื่อของผู้บริโภค. ใน รวิช ตาแก้ว/ (บก.), ประเทศไทยกับธรรมาภิบาลด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (หน้า 229-246). กรุงเทพฯ: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. (2545). ธรรมาภิบาลในองค์กรอิสระ. เอกสารประกอบคำบรรยาย 8 มิถุนายน 2545. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
เมธา หริมเทพาธิป. (2557). “เกณฑ์ตัดสินความจริงตามหลักกาลามสูตร : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน”. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
เมธา หริมเทพาธิป. (2559). ญาณปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. ใน รวิช ตาแก้ว/ (บก.), ประเทศไทยกับธรรมาภิบาลด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (หน้า 73-87). กรุงเทพฯ: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์.
เมธา หริมเทพาธิป. และ เอนก สุวรรณบัณฑิต. (2559). พัฒนาอย่างพอเพียงด้วยการมีส่วนร่วมเพื่อธรรมาภิบาล. ใน รวิช ตาแก้ว/ (บก.), ประเทศไทยกับธรรมาภิบาลด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (หน้า 207-27). กรุงเทพฯ: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์.
รวิช ตาแก้ว. (2557). “ความหมายของคำ "ดีงาม" ในบริบทวัฒนธรรมไทย” : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน”. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
รวิช ตาแก้ว. (2559). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะอภิปรัชญาของปรัชญาหลังนวยุคสายกลาง. ใน รวิช ตาแก้ว/ (บก.), ประเทศไทยกับธรรมาภิบาลด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (หน้า 61-72). กรุงเทพฯ: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์.
วราภรณ์ พงศ์ธรพิสุทธิ์. (2559). ปรัชญาพอเพียงบนหลักธรรมภิบาลของไทย. ใน รวิช ตาแก้ว/ (บก.), ประเทศไทยกับธรรมาภิบาลด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (หน้า 153-76). กรุงเทพฯ: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์.
สิริกร อมฤตวาริน. (2558). “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับความสุขแท้ตามความเป็นจริง : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน”. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
สิริกร อมฤตวาริน. (2559). หลักเมตตาเพื่อปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. ใน รวิช ตาแก้ว/ (บก.), ประเทศไทยกับธรรมาภิบาลด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (หน้า 107-24). กรุงเทพฯ: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์.
สุวัฒน์ วิวัฒนานนท์. (2550). การศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: ซี.ซี. นอลลิดจ์ลิงค์.
เอนก สุวรรณบัณฑิต, กีรติ บุญเจือ. (2558). สังคมบนฐานความรู้กับสันติภาพ. รมยสาร, 13 (2): 149-59.
เอนก สุวรรณบัณฑิต. (2559). ความรุ่งเรืองแห่งรัฐกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. ใน รวิช ตาแก้ว/ (บก.), ประเทศไทยกับธรรมาภิบาลด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (หน้า 197-206). กรุงเทพฯ: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์.
Andrew Belsey & Ruth Chadwick, (1992). Ethical Issues in Journalism and the Media. London and New York.
Aristotle. (1988). Politics. translated by E. Barker. Oxford University Press.
Best, S. and Kellner, D. (1999). Postmodern Theory. New York: The Guilford Press.
Bauman, Z. (1996). Postmodern ethics. Cambridge: Blackwell.
Comete, A. (1912). Systéme de politique positive. 4 Vol., 4th ed. Paris: Crès.
Derrida, Jacques. (1982). Margins of philosophy. translated by Alan Bass. Brighton: The Harvester Press.
Foucault, M. (1991). “Politics and the Study of Discourse.” The Foucault Effect: Studies in Governmentality. Ed. Graham Burchell, Colin Gordon, and Peter Miller. Chicago: U Chicago P.
Ranciére, J. (1992). “Politics, Identification, and subjectivization” October Vol. 61 (Summer 1992).
Ward, G. (2003). Postmodernism. Chicago: Contemporary Books.
Wilhelm, D. (1976). Selected Writing. Cambridge: Cambridge University Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
30-06-2016
How to Cite
ฉบับ
บท
บทความวิชาการ