ธรรมาภิบาลกับการแก้ปัญหาคอรัปชั่น

ผู้แต่ง

  • เมธา หริมเทพาธิป สาขาวิชาปรัชญาและจริยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

ธรรมาภิบาล, ปัญหาคอรัปชั่น, ระดับการคอรัปชั่น

บทคัดย่อ

บทความเรื่องนี้ สรุปได้ดังนี้ คอรัปชั่นมาจากภาษาลาตินว่า คอรัปตุส แปลว่า ทำลาย กับ ปล่อยปละละเลย ระดับการคอรัปชั่นแบ่งออกเป็น 3 ได้แก่ 1) ระดับบุคคลต่อบุคคล การคอรัปชั่นในระดับนี้มักเป็นเรื่องของสิทธิ 2) ระดับชุมชน การคอรัปชั่นในระดับนี้มักจะเป็นเรื่องของการมีส่วนได้ส่วนเสีย และ 3) ระดับประเทศ การคอรัปชั่นในระดับนี้มักจะเป็นเรื่องของการได้รับผลประโยชน์จากโครงการที่มีการลงทุนใหญ่โต อนึ่ง การใช้ธรรมาภิบาลในการแก้ปัญหาคอรัปชั่นอย่างได้ผลจะต้องเกิดขึ้นบนความพอเพียงในการบริหารจัดการที่ดีทั้งสองฝ่าย กล่าวคือ ทั้งฝ่ายผู้ปกครอง และ (ประชาชน) ผู้ถูกปกครอง

References

กีรติ บุญเจือ. (2556). “ปัญหาและทางแก้เกี่ยวกับการอบรมคุณธรรมจริยธรรม (รวมศีลธรรม) ในประเทศไทยจากมุมมองของแซมมวล ฮันติงตัน”.รายงานวิจัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

กีรติ บุญเจือ, รวิช ตาแก้ว, อเนก สุวรรณบัณฑิต, สิริกร อมตวาริน, เมธา หริมเทพาธิป. (2558). ความเป็นหลังนวยุคของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. ทุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

เมธา หริมเทพาธิป และ อเนก สุวรรณบัณฑิต. (2559). พัฒนาอย่างพอเพียงด้วยการมีส่วนร่วมเพื่อธรรมาภิบาล. ใน รวิช ตาแก้ว/ (บก.), ประเทศไทยกับธรรมาภิบาลด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. (หน้า 207-227). กรุงเทพฯ: หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและจริยศาสตร์.

Cox, Robert. (1987). Production, Power, and the World Order: social forces in the making of history. New York: Columbis University Press

DhiwakornKaewmanee. (2007). The evolution of the Thai State: the political economy of formative and transformative external influences. Berlin: dissertation.de.

Online etymology dictionary. (2015) “Corruption”. http://www.etymonline.com/index.php?term=corrupt

Downloads

เผยแพร่แล้ว

30-12-2016